ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
Patawann (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: อัพเดท02082021
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 ที่[[ถนนลาดปลาเค้า|ย่านลาดปลาเค้า]] [[เขตลาดพร้าว|ตำบลลาดพร้าว]] [[อำเภอบางกะปิ]] [[จังหวัดพระนคร]] (ปัจจุบันเป็น [[เขตลาดพร้าว]] [[กรุงเทพมหานคร]]) เป็นบุตรสาวของนาย[[สมพล เกยุราพันธุ์]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา]] คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ได้สมรสกับนายสมยศ ลีลาปัญญาเลิศ นักธุรกิจชาวไทย มีบุตร-ธิดา รวมทั้งหมด 3 คน คือ ภูมิภัทร, พีรภัทร และยศสุดา ลีลาปัญญาเลิศ ตามลำดับ
คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 ที่[[ถนนลาดปลาเค้า|ย่านลาดปลาเค้า]] [[เขตลาดพร้าว|ตำบลลาดพร้าว]] [[อำเภอบางกะปิ]] [[จังหวัดพระนคร]] (ปัจจุบันเป็น [[เขตลาดพร้าว]] [[กรุงเทพมหานคร]]) เป็นบุตรสาวของนาย[[สมพล เกยุราพันธุ์]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา]] - นางเรณู เกยุราพันธ์ คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ได้สมรสกับนายสมยศ ลีลาปัญญาเลิศ นักธุรกิจชาวไทย มีบุตรชาย 2 คน ธิดา 1 คน รวมทั้งหมด 3 คน


# นายภูมิภัทร ลีลาปัญญาเลิศ
จบมัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์]] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านการตลาด จาก[[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (Shi 41) และระดับปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จาก[[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]]<ref>[http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/166587#.UjQ8KNK9WWw</ref> สำเร็จการศึกษาปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา จากคณะบัณฑิตวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
# นายพีรภัทร ลีลาปัญญาเลิศ
# นางสาวยศสุดา ลีลาปัญญาเลิศ


== การศึกษา ==
== การเมือง ==

* มัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์]]
* ปริญญาตรี [[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (สาขาการตลาด)
* ปริญญาโท [[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (MBA จาก GIBA)
* ปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา จากคณะบัณฑิตวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
* ปริญญาเอก ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม [[มหาวิทยาลัยนครพนม]]

== ประวัติการทำงาน ==
คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535]] ได้เป็น ส.ส. ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] ในเขต 12 (มีนบุรี, บางเขน, หนองจอก, ดอนเมือง ยกเว้นแขวงทุ่งสองห้อง) ของ[[พรรคพลังธรรม]] แต่หลังจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬที่ พล.ต. [[จำลอง ศรีเมือง]] ได้วางมือทางการเมืองแล้ว พรรคพลังธรรมก็ได้ผลัดเปลี่ยนหัวหน้าพรรคหลายคน มาจนถึง [[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นหัวหน้าพรรค คุณหญิงสุดารัตน์ก็ได้สนิทสนมกับ [[ทักษิณ ชินวัตร]] พร้อมกับสมาชิกพรรคอีกหลายคนซึ่งส่วนใหญ่เป็น ส.ส. ในกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2539 พรรคพลังธรรมมี ส.ส. เหลือเพียงคนเดียว คือ คุณหญิงสุดารัตน์นี่เอง และในปี พ.ศ. 2541 เมื่อ ดร.[[ทักษิณ ชินวัตร]] ได้ออกมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย คุณหญิงสุดารัตน์ก็เป็นหนึ่งใน 23 บุคคลที่ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย และก็ได้ร่วมงานกับทางพรรคมาจนบัดนั้น
คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535]] ได้เป็น ส.ส. ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] ในเขต 12 (มีนบุรี, บางเขน, หนองจอก, ดอนเมือง ยกเว้นแขวงทุ่งสองห้อง) ของ[[พรรคพลังธรรม]] แต่หลังจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬที่ พล.ต. [[จำลอง ศรีเมือง]] ได้วางมือทางการเมืองแล้ว พรรคพลังธรรมก็ได้ผลัดเปลี่ยนหัวหน้าพรรคหลายคน มาจนถึง [[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นหัวหน้าพรรค คุณหญิงสุดารัตน์ก็ได้สนิทสนมกับ [[ทักษิณ ชินวัตร]] พร้อมกับสมาชิกพรรคอีกหลายคนซึ่งส่วนใหญ่เป็น ส.ส. ในกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2539 พรรคพลังธรรมมี ส.ส. เหลือเพียงคนเดียว คือ คุณหญิงสุดารัตน์นี่เอง และในปี พ.ศ. 2541 เมื่อ ดร.[[ทักษิณ ชินวัตร]] ได้ออกมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย คุณหญิงสุดารัตน์ก็เป็นหนึ่งใน 23 บุคคลที่ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย และก็ได้ร่วมงานกับทางพรรคมาจนบัดนั้น


บรรทัด 57: บรรทัด 67:


== ตำแหน่งทางการเมือง ==
== ตำแหน่งทางการเมือง ==

* เลขาธิการ[[พรรคพลังธรรม]]
* 22 มีนาคม 2535 เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535]] ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[กรุงเทพมหานคร]] เขต 12 [[พรรคพลังธรรม]] (บางเขน, หลักสี่, ดอนเมือง, สายไหม, มีนบุรี, หนองจอก, คลองสามวา) ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ประมาณ 1/3 ของพื้นที่ทั้งกรุงเทพมหานคร
* หัวหน้า[[กลุ่มรวมพลังไทย]]

* หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง[[พรรคไทยรักไทย]]
* 13 กันยายน 2535 ได้รับการเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] กรุงเทพมหานคร เขต 7 พรรคพลังธรรม (ลาดพร้าว, วังทองหลาง, บางกะปิ, บึงกุ่ม, คันนายาว, สะพานสูง) และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (สมัยรัฐบาลชวน 1/1)
* รองหัวหน้า[[พรรคไทยรักไทย]]

* พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 12 บางเขน ดอนเมือง หนองจอก และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 บางกะปิ บึงกุ่ม ลาดพร้าว
* สิงหาคม 2536 การจัดตั้งมูลนิธิผู้หญิงเพื่อประชาธิปไตย และกลุ่มผู้หญิงกับการเมือง ซึ่งต่อมา  พัฒนาเป็นสถาบันผู้หญิงกับการเมือง (เพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงได้มีความรู้ความเข้าใจในการเมือง ที่ถูกต้อง และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองมากขึ้น)
* พ.ศ. 2535 รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/138/30.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 218/2535 เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (1นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 3 นายธำรงค์ ไทยมงคล)]</ref>

* พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงคมนาคม]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/E/050/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref>
* พ.ศ. 2537 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขาธิการ[[พรรคพลังธรรม]] (เป็นเลขาธิการพรรคผู้หญิงคนแรก)
* พ.ศ. 2538 รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]

* พ.ศ. 2544 รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]]
* 25 ตุลาคม 2537 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงคมนาคม]] (รัฐบาลชวน 1/2)
* พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00154678.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref>

* 2 กรกฎาคม 2538 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7 พรรคพลังธรรม (บางกะปิ, บึงกุ่ม, วังทองหลาง, คันนายาว, สะพานสูง)

* 18 กรกฎาคม 2538 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]](เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยหญิงคนแรก) (สมัยรัฐบาลบรรหาร 1)

* 17 พฤศจิกายน 2539 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7 (บางกะปิ, บึงกุ่ม, วังทองหลาง, คันนายาว, สะพานสูง) โดยเป็น ส.ส. ของพรรคพลังธรรม เพียงคนเดียวในสภา

* ธันวาคม 2541 จัดตั้งโครงการ “ไทยพึ่งไทย” เพื่อช่วยเหลือผู้หญิงที่ตกงานให้สามารถสร้างงานสร้างอาชีพของตนเองได้ในยามที่ประเทศกำลังประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ

* พ.ศ. 2541 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้า[[พรรคไทยรักไทย]]

* 9 มกราคม 2544 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคไทยรักไทย

* 17 กุมภาพันธ์ 2544 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]]

* 13 มีนาคม 2548 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]

* 30 พฤษภาคม 2550 ถูกตัดสิทธิ์ 5 ปี (30 พ.ค. 50 -30 พ.ค. 55) พรรคไทยรักไทยถูกยุบ เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]]

* 5 ตุลาคม 2554 รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการโครงการ “หนึ่งใจ...ช่วยเหลือผู้ประสบภัย และสู้ภัยพิบัติแห่งชาติ” มูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ใน[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]]
* ปัจจุบัน ประธานกรรมการมูลนิธิไทยพึ่งไทย ประธานกรรมการผู้ก่อตั้งสถาบันสร้างไทย

== การศึกษาอบรม ==

* ปี พ.ศ. 2552    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9
* ปี พ.ศ. 2554    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานครรุ่น 1) สถาบันพัฒนาเมือง
* ปี พ.ศ. 2555    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ภูมิพลังแผ่นดิน รุ่นที่ 1
* ปี พ.ศ. 2555   หลักสูตรเสาหลักของแผ่นดิน : ผู้นำระดับสูงตามรอยเบื้องพระยุคลบาท รุ่นเกียรติยศของสมาคมสถาบันศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์    
* ปี พ.ศ. 2555   หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่น 1  (วพน.1) สถาบันวิทยาการพลังงาน
* ปี พ.ศ. 2556    หลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารทางการแพทย์ รุ่น 2 (ปธพ.2)
* ปี พ.ศ. 2556    หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา  บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
* ปี พ.ศ. 2559    หลักสูตรภาษาจีนนักธุรกิจชั้นสูง รุ่นที่ 1 (BLCA)  สถาบันวิทยาการภาษา และวัฒนธรรมปักกิ่งฺ     

  (มี.ค.-ส.ค.)       Beijing Language and Culture Academy   (1 เม.ย.-27 ส.ค.59-รุ่น 1 ระดับ 1)

* ปี พ.ศ. 2560    อบรมหลักสูตร "Difference : How to harness business creativity" รุ่นที่ 7

  (ก.ค.-พ.ย.)       สถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity : ABC)   มหาวิทยาลัยศรีปทุม

* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร "The Story –The Ultimate Leadership Tool” รุ่นที่ 1

  (ม.ค.-เม.ย.)     สถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity : ABC)   มหาวิทยาลัยศรีปทุม

* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร “วิทยาการการจัดการสำหรับนักบริหารระดับสูง” (วบส.) รุ่นที่ 1

  (ก.พ.-มิ.ย.)       (Advanced Master of Managerment Program, AMM)  คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตรเศรษฐกิจอนาคต และธรรมาภิบาลอินเตอร์เน็ต สำหรับผู้บริหารระดับสูง

  (ก.ย.-พ.ย.)      รุ่นที่ 1  (Future Economy & Internet Governance Executive Program : FEGO) ของสถาบันเศรษฐกิจอนาคต และธรรมาภิบาลอินเตอร์เน็ต โดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

(องค์การมหาชน) : สพธอ. ETDA

* ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร Leading Digital Transformation สำหรับผู้บริหาร เจ้าของธุรกิจ และผู้นำองค์กร

  (ต.ค.-ธ.ค.)       โดยบริษัท อีเอ็กซ์ จำกัด                     


== รางวัลและเกียรติยศ ==
== รางวัลและเกียรติยศ ==

* พ.ศ. 2539 รับพระราชทานยศ[[กองอาสารักษาดินแดน]] เป็น นายกองเอก สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/B/003/79.PDF</ref>
* พ.ศ. 2539 รับพระราชทานยศ[[กองอาสารักษาดินแดน]] เป็น นายกองเอก สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
* พ.ศ. 2539 Thailand Tatler Award Most talked about personality of the year จัดโดย Thailand Tatler

* พ.ศ. 2539 รางวัลเกียรติคุณวิจิตรแพรวา เป็นผู้นำการแต่งกายด้วยผ้าไหมแพรวา จัดโดยจังหวัดกาฬสินธุ์
* Thailand Tatler Award Most talked about personality of the year จัดโดย Thailand Tatler ปี 2539
* พ.ศ. 2540 ศิษย์เซนต์โยเซฟตัวอย่าง “นวุฒิพรรษ” สาขาการเมือง (ผู้มีความประพฤติดี และรางวัลมารยาทงาม) จัดโดยสมาคมศิษย์เซนต์โยเซฟ คอนเวนต์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

* พ.ศ. 2544 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
* รางวัลเกียรติคุณวิจิตรแพรวา เป็นผู้นำการแต่งกายด้วยผ้าไหมแพรวา จัดโดยจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2539

* ศิษย์เซนต์โยเซฟตัวอย่าง “นวุฒิพรรษ” สาขาการเมือง (ผู้มีความประพฤติดี และรางวัลมารยาทงาม) จัดโดยสมาคมศิษย์เซนต์โยเซฟ คอนเวนต์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2540

* รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2540

* รางวัลนิสิตเก่าดีเด่น ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
* รางวัลนิสิตเก่าดีเด่น ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

* พ.ศ. 2540 ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นยอดหญิง 2540 โดยสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี
* ยอดหญิง 2540 โดยสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี ปี 2540
* สาวเปรียว ประจำปี พ.ศ. 2541 จากนิตยสารเปรียว

* พ.ศ. 2541 ได้รับการประกาศเกียรติคุณได้รับโหวตจากผู้ฟังรายการ “เวทีผู้หญิง” เป็นสตรีเพชรงามในสายอาชีพ นักการเมือง
* สาวเปรียว ประจำปี 2541 จากนิตยสารเปรียว
* พ.ศ. 2541 คนรักรัฐธรรมนูญ จัดโดยชมรมคนรักรัฐธรรมนูญร่วมกับรัฐสภา

* พ.ศ. 2546 นักสุขศึกษาดีเด่น สาขาการบริหารนโยบาย จากสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา
* ประกาศเกียรติคุณได้รับโหวตจากผู้ฟังรายการ “เวทีผู้หญิง” เป็นสตรีเพชรงามในสายอาชีพนักการเมือง ปี 2541
* พ.ศ. 2546 Tobacco-Free World Award 2003 จากองค์การอนามัยโลก (WHO)

* รับพระราชทานรางวัล Mental Health Princess Award ในฐานะผู้มีผลงานด้านสุขภาพจิตและยาเสพติดระหว่างประเทศดีเด่น จาก[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2546
* คนรักรัฐธรรมนูญ จัดโดยชมรมคนรักรัฐธรรมนูญร่วมกับรัฐสภา ปี 2541

* นักสุขศึกษาดีเด่น สาขาการบริหารนโยบาย จากสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ปี 2546

* Tobacco-Free World Award 2003 จากองค์การอนามัยโลก (WHO)

* 19 สิงหาคม 2546 รับพระราชทานรางวัล Mental Health Princess Award ในฐานะผู้มีผลงานด้านสุขภาพจิตและยาเสพติดระหว่างประเทศดีเด่น จาก[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]

* สตรีไทยดีเด่น ด้านทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ของสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์
* สตรีไทยดีเด่น ด้านทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ของสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์

* พ.ศ. 2561 ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม จาก [[มหาวิทยาลัยนครพนม]]
* 17 พฤษภาคม 2554 รับประกาศเกียรติคุณและแสดงความขอบคุณ ในฐานะบุคคลผู้ทำคุณประโยชน์แก่ประเทศเนปาล ในการจัดทำโครงการบูรณปฎิสังขรณ์สถานที่ประสูติองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

* รางวัล “ตาราอวอร์ด” รางวัลสำหรับคนปลุกหัวใจสังคมด้วยหัวใจโพธิสัตว์ จากเสถียรธรรมสถาน

* โล่รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา จากสมเด็จพระวันรัต ผู้แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราชมหาวิทยาลัยมกุฎราชกุมารวิทยาลัย

* 15 กุมภาพันธ์ 2557  รับรางวัลผู้นำพุทธโลก World Buddhist Outstanding Leader Award  จากองค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก และ[[สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ]]

* 6 มิถุนายน 2558  รับรางวัล “เสาอโศกผู้นำศีลธรรม” ของสมาคมผู้ทำคุณประโยชน์ เพื่อพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พลเอกธงชัย เกื้อสกุล นายกสมาคมฯ) รับจาก[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ]] (Received  "Asoka Pillar Trophy Religion Leader" fromThe Association of distinguished contributors to Buddhism of Thailand)

* 18 กรกฎาคม 2563 รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านการพัฒนาสังคมและ/หรือบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ประจำปี 2563 เนื่องในวันบุรพาจารย์ฯ ของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  (มจร.)  

* 19 กรกฎาคม 2563  รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา และสังคม” โครงการทำความดีด้วยใจ เทิดไท้องค์ราชัน เฉลิมพระเกียรติวันเฉลิมฯ ร.10 ของกรมการศาสนา วัดลาดปลาเค้า คณะสงฆ์เขตลาดพร้าว


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

{{ม.ป.ช.|2542}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/B/020V001/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย] [ที่ปรึกษา ผู้ชำนาญการ นักวิชาการและเลขานุเการฯ ประจำสภาผู้แทนราษฎร], เล่ม 116 ตอน 20 ฉบับทะเบียนฐานันดร, 2 ธันวาคม พ.ศ. 2542 หน้า 8 ลำดับ 278</ref>{{ม.ว.ม.|2539}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/B/022/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นสายสะพาย)], เล่ม 113, ตอน 22 ฉบับทะเบียนฐานันดร 4 ธันวาคม พ.ศ. 2539 หน้า 17 ลำดับ 388</ref>
* 5 ธันวาคม 2535 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
{{ป.ภ.|2548}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00177251.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ให้แก่บุคคลที่ช่วยเหลือผู้ประสบธรณีพิบัติภัย "สึนามิ"] [สำนักนายกรัฐมนตรี], เล่ม 122 ตอน 23 ฉบับทะเบียนฐานันดร, 3 ธันวาคม พ.ศ. 2548 หน้า 2 ลำดับ 9</ref>
* 5 ธันวาคม 2536 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
{{จ.จ.|2548}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00157259.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า], เล่ม 122, ตอน 6 ฉบับทะเบียนฐานันดร, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 , หน้า 3 ลำดับ 1</ref>
* 5 ธันวาคม 2537 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
* 5 ธันวาคม 2538 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
* 5 ธันวาคม 2539 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
* 5 ธันวาคม 2542 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
* 5 พฤษภาคม 2548 ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้น [[จตุตถจุลจอมเกล้า]] (จ.จ.)
* 5 ธันวาคม 2548 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.)  “ชั้นสายสะพาย”

== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ==

* ผลักดันให้เกิดการวางโครงสร้างการแก้ไขปัญหาการจราจรอย่างเป็นระบบทั้งแผนการแก้ไขปัญหาจราจรระยะสั้น & ระยะยาว

* ผ่าตัดระบบการผูกขาดของบริษัท ขนส่ง จำกัด เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานให้ดีขึ้น

* แก้ไขปัญหาระบบการทำงานของ รสพ. ที่ประสบภาวะขาดทุน ให้มีผลประกอบการเป็นกำไร เป็นครั้งแรกตั้งแต่ก่อตั้ง รสพ.

* ผลักดันให้มีสถานีขนส่งแห่งใหม่ ทำให้เกิดความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และลดความแออัดคับคั่งของการจราจรลงได้

== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ==

* เร่งเพิ่มพื้นที่ผิวจราจร โดยจัดระบบโครงข่ายถนนใน กทม. ให้ประสานเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อให้สามารถระบายรถได้เร็วขึ้น โดยไม่ผ่านกลางเมือง หรือไม่ต้องใช้ถนนสายหลักเดิมที่ติดขัดอยู่แล้ว จำนวน 40 สาย ระยะทางกว่า 120 กิโลเมตร

* เร่งรัดการสร้างถนนสายรอง และตัดทะลุตรอก ซอก  ซอย ใน กทม. จำนวน 12 เส้นทาง โครงการก่อสร้างสะพานข้ามทางแยกจำนวน 6 ทางแยก, โครงการสร้างอุโมงค์ลอดถนน 5 แห่ง

* เร่งรัดและผลักดันโครงการของกรมโยธาธิการ ประกอบด้วย โครงการถนนสายหลักและสายรอง 13 สาย, โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 5 สะพาน

* ผลักดันให้เกิดการวางระบบทางด่วนที่เป็นเครือข่ายครบวงจร และเร่งรัดให้สามารถเปิดใช้ได้เร็วขึ้น เช่น ทางด่วนขั้นที่ 2 ช่วงพญาไท บางโคล่, โครงการรามอินทรา - อาจณรงค์ ช่วงรามอินทรา - พระราม 9 และช่วงพระราม 9 - อาจณรงค์, โครงการทางด่วนสายบางนา – บางพลี - บางประกง ช่วงบางนา - วัดศรีเอี่ยม, ปรับปรุงทางขึ้นลง สุขุมวิท - เพชรบุรี และบริเวณทางแยกต่างระดับคลองเตย เพื่อแก้ปัญหาคอขวดของการจราจร

* ผลักดันให้เกิดโครงการระบบขนส่งมวลชนในจังหวัดเชียงใหม่ 4 เส้นทาง และโครงการสำรวจข้อมูลและศึกษาสภาพการจราจร และการขนส่งในเมืองภูมิภาค รวม 7 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา พิษณุโลก ขอนแก่น ภูเก็ต สงขลา ฉะเชิงเทรา และนครศรีธรรมราช

* เร่งรัดโครงการเมืองบริวารและชุมชนย่อย เพื่อสกัดกั้นและกระจายคนออกจากกรุงเทพฯ

* การรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามกฎจราจร เพื่อลดปัญหาการจราจร

* เริ่มมาตรการการเคร่งครัดการจับกุมผู้กระทำผิดกฎจราจร เพื่อให้มีการสร้างวินัยจราจรที่ดีขึ้น

== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ==

==== 1.        '''นโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า''' ====
-           การดำเนิน'''[[โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค]]'''

-           '''โครงการโมบายคลินิก  '''จัดทำขึ้นเพื่อสนองแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยประชาชนที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร ให้ได้รับการบริการอย่างทั่วถึง มีระบบติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง

-           '''ศูนย์สุขภาพชุมชน'''  เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ สถานพยาบาลใกล้บ้าน ใกล้ใจ

-           '''การจัดศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจในภูมิภาค'''  4 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี พิษณุโลก ยะลา นครราชสีมา

-           '''ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน'''  ช่วยให้ประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤติ และอยู่ห่างไกลจากโรงพยาบาลให้ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที แล้วยังส่งผลให้การรอดชีวิตมีอัตราที่สูงขึ้น ความพิการน้อยลง รวมทั้งให้คำปรึกษาช่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือได้รับการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยทางโทรศัพท์หมายเลข 1669

==== 2.        '''นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติด''' ====
-           '''การดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด To be Number 1''' มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด รวมถึงการสร้างพลังที่ถูกต้อง เสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิต ซึ่งโครงการนี้ได้รับพระกรุณาธิคุณจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ทรงรับเป็นองค์ประธานคณะกรรมการอำนวยการ และเสด็จเป็นองค์นำการจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ ที่สำคัญมีการจัดตั้งชมรม To be Number one club ในชุมชนจำนวน 27,122 ชมรม ในสถานศึกษาจำนวน 16,472 ชมรม และในสถานประกอบการจำนวน 22,701 ชมรม รวมถึงการรับสมัครสมาชิก ขณะนี้มีสมาชิกจำนวนกว่า 20,531,253 คน ทั่วประเทศ

-           '''ฮอตไลน์สายด่วนยาเสพติด'''หมายเลข 1165 ด้วยระบบอัตโนมัติ มีรายการให้เลือกฟังกว่า 500 รายการ สามารถรับฟังข้อมูลเรื่องโทษยาเสพติด การช่วยเหลือ - เฝ้าระวังผู้ติดยา แนวทางการป้องกันและสถานที่บำบัด รวมถึงการสอบถามได้โดยตรงกับผู้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติด

-           การเตรียมความพร้อม สถานบำบัดรองรับผู้ติดยาเสพติด การพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนให้มีการบำบัดตามมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ พัฒนาระบบการบำบัดแบบจิต สังคมบำบัด Matrix Program

==== 3.        '''นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพดี''' ====
การประกาศให้ปี 2545 เป็นปีแห่งการเริ่มต้นรณรงค์สร้างสุขภาพทั่วไทย โดยใช้ยุทธศาสตร์รวมพลังสร้างสุขภาพ

-           '''การออกกำลังกาย''' รณรงค์ให้ประชาชนคนไทยหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ลดโรคสำคัญที่ทำให้เกิดอัตราการตายสูงของคนไทย เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวานและความดันโลหิต ปรากฏว่าปัจจุบันมีชมรมสร้างสุขภาพที่มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นจาก 10,638 ชมรม เป็น 35,184 ชมรม และมีผู้ออกกำลังกายเพิ่มขึ้นจาก 11.5 ล้านคน เป็น 25.2 ล้านคน

-           '''การจัดงานรวมพลคนเสื้อเหลือง''' เมื่อ 23 พ.ย. 45 สามารถรวมพลังประชาชนมาออกกำลังกายได้สูงสุดถึง 46,824 คน ใช้เวลาออกกำลังกายนาน 61 นาที ทำลายสถิติโลกและได้ถูกบันทึกลงในกินเนสบุ๊ค และจะมีการจัดงานขึ้นทุกปีเพื่อให้ประชาชนนิยมการออกกำลังกายป้องกันการเกิดโรคตลอดไป

-           '''โครงการวิ่ง 30 สู่สุขภาพดี''' เพื่อกระตุ้นและจุดประกายให้เด็กนักเรียนทั่วประเทศได้ออกกำลังกายและเล่นกรีฑาเป็นทีม สร้างสีสันในการส่งเสริมการออกกำลังกาย มีกติกาทีมละ 30 คน วิ่งผลัดในระยะทาง 400 เมตร ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที ผลที่ได้รับมีทั้งสุขภาพแข็งแรง และการฝึกการทำงานเป็นทีม

-           '''โครงการขยับกายสบายชีวี''' ส่งเสริมให้สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจัดให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายในสถานประกอบการ ทำให้คนทำงานได้มีการออกกำลังกายในสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ว่าอยู่ที่บ้านหรือที่ทำงาน โดยออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันวันละ 30 นาที

-           '''โครงการสวนสาธารณะรื่นรมย์''' ให้ประชาชนมีสถานที่ออกกำลังกายและพักผ่อนหย่อนใจที่มีความสะอาด ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีชีวิตชีวา ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยเสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็ง เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

-           '''โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่''' พัฒนารูปแบบการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก และอบรมผู้ดูแลเด็กเล็กของศูนย์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการให้บริการอบรมดูแลเด็กให้มีคุณภาพดี

-           '''โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ''' เพื่อพัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาลซึ่งเป็นแหล่งบำบัดรักษาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพให้สามารถดำเนินการส่งเสริม สร้างเสริมสุขภาพมิให้คนกลับมาป่วยซ้ำ

-           '''โครงการมุมเพื่อนใจวัยรุ่น''' เพื่อให้วัยรุ่นสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการของวัยรุ่น ลดปัญหาและมีทางออกในการแก้ไขปัญหาที่ถูกวิธี โดยตั้งมุมเพื่อนใจวัยรุ่น ตามแหล่งที่วัยรุ่นชอบไป เช่น ศูนย์การค้า

==== 4.        '''นโยบายการสร้างความปลอดภัยอาหารแห่งชาติ''' ====
Food Safety เพื่อสุขภาพที่ดีของชาวไทย และเพื่อส่งเสริมการส่งออกอาหารไทยออกไปทั่วโลก โดยจะมีการรณรงค์และเผยแพร่คุณภาพมาตรฐานอาหารของไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกว้างขวางออกไปสู่การยอมรรับทั้งในและต่างประเทศ โดยเน้นมาตรฐานความสะอาดและความปลอดภัยของอาหารหลัก 3 กลุ่ม คือ อาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารปรุงจำหน่าย

-           '''อาหารสด''' ได้รับการแก้ไขจนอยู่ในระดับที่น่าพอใจ คือ การปนเปื้อนบอแรกซ์จากร้อยละ 42 ลดลงเหลือ 0.55 สารกันราจากร้อยละ 17.2 ลดลงเหลือ 3.6 ฟอร์มาลินจากร้อยละ 10 ลดลงเหลือ 1.69 สารฟอกขาวจากร้อยละ 10 ลดลงเหลือ 3.48 ซึ่งอาหารสดที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงสาธารณสุข จะได้รับป้ายอาหารปลอดภัย โดยขณะนี้ได้มอบป้ายไปแล้ว 57,267 ป้าย

-           '''อาหารแปรรูป''' กระทรวงสาธารณสุขได้ดูแลอย่างเข้มงวด โดยการควบคุมมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภททั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 9,609 แห่ง ผ่านมาตรฐานตามวิธีการที่ดีในการผลิต (GMP) ตามมาตรฐานสากล 3,334 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.64

-           '''อาหารปรุงจำหน่าย''' ในร้านอาหาร ภัตตาคาร และแผงลอยทั่วไป ได้เข้มงวดเรื่องความสะอาด และสุขลักษณะของสถานที่ อาหาร ภาชนะ และผู้ปรุงประกอบ ซึ่งสังเกตได้จากป้าย “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” หรือ “Clean food Good Taste” โดยมอบป้ายไปแล้ว 17,404 ป้าย

-           '''ความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียน''' หรือ '''“อย.น้อย”''' โดยร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการตรวจสอบอาหารในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง ซึ่งมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการกว่า 5,154 แห่งทั่วประเทศ และจะดำเนินการขยายผลการดำเนินงานทุกแห่งทั่วประเทศต่อไป

-           '''โครงการตลาดสดน่าซื้อ /''' clean food good taste / food for health เป็นการควบคุมให้ตลาดสดจำหน่วยสินค้าที่ปลอดภัยไร้สารพิษ ปัจจุบันมีตลาดสดเข้าร่วมโครงการ 731 แห่ง

-           '''โครงการคุ้มครองความปลอดภัยอาหารตัดแต่งพันธุกรรม''' (จีเอ็มโอ) ดำเนินงานเร่งรัดการสร้างกรอบกำหนดค่ามาตรฐานสารปนเปื้อนขึ้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพเครื่องมือการตรวจหาสัดส่วนของสารปนเปื้อนที่อยู่ในอาหารแปรรูป กำหนดให้ติดฉลากเพื่อระบุว่าอาหารนั้นมีสารจีเอ็มโออยู่ด้วยหรือไม่ เพื่อให้ประชาชนสามารถตัดสินใจในการเลือกบริโภค

-           '''โครงการแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยในเนื้อหมู'''จากสารเร่งเนื้อแดง/สารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักผลไม้/ยาสัตว์ตกค้างและเชื้อจุลินทรีอาหารเป็นพิษ/ยาต้านจุลชีพในกุ้งเลี้ยง/สาร 3-เอ็มพีซีดี

==== 5.        '''นโยบายลดโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ''' ====
-           โครงการรณรงค์ลดการสูบบุหรี่

-           โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก

-           โครงการรณรงค์แก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก

-           โครงการแก้ปัญหาโรคเอดส์ ให้ผู้ป่วยเข้าถึงยาต้านไวรัศเอดส์

-           โครงการรณรงค์ลดปัญหาอุบัติเหตุจราจร

==== 6.        '''นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขระหว่างประเทศ''' ====
-           ความร่วมมือประเทศกัมพูชา พม่า ลาว แก้ปัญหาสาธารณสุขชายแดน

-           ความร่วมมือประเทศเนเธอร์แลนด์แก้ปัญหายาเสพติด

-           การผลักดันองค์การอนามัยโลกหนุนนโยบายถุงยางอนามัย 100 % ป้องกันโรคเอดส์

-           ความร่วมมือองค์การอนามัยโลก ถ่ายทอดประสบการณ์การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้นแบบ

-           การผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุข 6 ประเทศลุ่มน้ำโขง

-           การเจรจาลดค่าสมาชิกองค์การอนามัยโลก

-           โครงการความร่วมมือประเทศอิตาลี ผลิตเข็มฉีดยาปลอดภัย

-           โครงการความร่วมมือประเทศญี่ปุ่น ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบพักผ่อนระยะยาว (Long stay)

-           โครงการความร่วมมือประเทศจีน พัฒนาสมุนไพรและการส่งออกยาต้านไวรัสเอดส์

==== 7.        '''นโยบายการพัฒนาศักยภาพการสาธารณสุข''' ====
-           โครงการพัฒนา “'''นวดแผนไทย”''' เพื่อการส่งเสริมภูมิปัญญาไทย

-           '''โครงการพัฒนาองค์การเภสัชกรรม''' ผลิตยาคุณภาพ ส่งออกตลาดเสรี มีระบบบริหารจัดการในองค์การที่ทันสมัย เป็นแบบอย่างในการผลิตยาได้มาตรฐาน สนับสนุนการผลิตยาสมุนไพรทดแทนการนำเข้า

-           '''โครงการจัดตั้งธนาคารสมอง''' สนองพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อรวบรวมผู้เกษียณอายุที่มีความรู้ความสามารถเป็นอาสาสมัครช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุข พร้อมใช้เป็นต้นแบบขยายการจัดตั้งให้ครบทุกจังหวัด

== ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ==

==== 1.    นโยบายการปรับโครงสร้างการผลิตการเกษตร ====
-           การเปิดและขยายตลาดสินค้าเกษตร เจรจาเพื่อลดข้อกีดกันทางการค้า รวมทั้งประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรในตลาดต่างประเทศ ทำให้สินค้าเกษตรไทยส่งออกได้เพิ่มขึ้น

-           การปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร  ให้เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร เพื่อแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตร

-           แผนความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) พัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน กำหนดให้มีการใช้สัญลักษณ์รูปตัว Q  เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงคุณภาพสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย ได้มาตรฐานของประเทศและสากล

==== 2.   สนองโครงการพระราชดำริ ====
-           การผลักดันให้เกิดกรมข้าว และสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]

== การดำเนินกิจกรรมวาระพิเศษ ==
- การจัดสร้าง'''พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทรา พระบรมราชชนนี''' ประทับนั่งเคียงกัน ด้วยตลอดพระชนม์ชีพทั้ง 2 พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อประชาชนชาวไทย กล่าวได้ว่า เป็นผู้วางรากฐานการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ กระทรวงสาธารณสุขรู้สึกสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ ไม่เพียงน้อมเกล้าถวายเกียรติคุณและเทิดพระเกียรติแด่ 2 พระองค์ ยังน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้เป็นอนุสรณ์สถิตแห่งความรักเทิดทูน และรำลึกถึงพระเมตตาธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณแห่ง 2 พระองค์ อีกทั้งเพื่อปลุกจิตสำนึกให้ผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้สืบสานดำเนินรอยตาม พัฒนาสุขภาพให้แข็งแรง

-           การจัดงาน'''เยาวชนน้อยร้อยดวงใจมอบให้แม่'''เพื่อเทิดพระเกียรติในวโรกาสครบ 60 พรรษามหาราชินี

-           การจัดงานกาล่าดินเนอร์การกุศล'''เทิดพระเกียรติ 70 พรรษา มหาราชินี''' เพื่อรณรงค์และส่งเสริมให้คนไทยและชาวต่างประเทศหันมานิยมใช้ผ้าไทย และรายได้ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ ในโครงการศิลปาชีพ ยอดทูลเกล้าฯ รวม 62,242,149 ล้านบาท โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ เสด็จเป็นองค์ประธานเมื่อ 12 ธ.ค. 42

-           โครงการ “'''แก้วตาดวงใจ เทิดไท้ 72 พรรษา มหาราชินี”''' ผ่าตัดตาต้อกระจก 100,000 ดวง และโรคหัวใจ 7,200 ราย ซึ่งเริ่มโครงการตั้งแต่ปี 2544 เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหัวใจและผู้ป่วยตาต้อกระจกที่ยังไม่ได้รับการผ่าตัด โดยเฉพาะผู้ป่วยยากไร้ที่ไม่มีโอกาสเข้ารับการรักษาให้ได้รับการผ่าตัดได้ทันเวลาเพื่อที่จะรักษาชีวิตและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

-           การจัดงาน “'''รวมพลังอาหารปลอดภัย ถวายแด่แม่ของแผ่นดิน”''' ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เมื่อวันที่ 6 – 8 ธ.ค. 46 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องวโรกาสพระชนมายุครบ 72 พรรษา ที่พระองค์ทรงมีความห่วงใยพสกนิกรในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร และเป็นการให้ความรู้แก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และความพยายามที่จะทำให้อาหารที่คนไทยบริโภคมีความสะอาดปลอดภัยทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศ นอกจากนี้ยังได้จัดทำหนังสือเฉลิมพระเกียรติ “'''กินตามแม่”''' ขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างที่แสดงวิธีการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:48, 8 กุมภาพันธ์ 2564

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดำรงตำแหน่ง
11 มีนาคม พ.ศ. 2548 – 19 กันยายน พ.ศ. 2549
นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร
ก่อนหน้าวันมูหะมัดนอร์ มะทา
ถัดไปธีระ สูตะบุตร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ดำรงตำแหน่ง
17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร
ก่อนหน้ากร ทัพพะรังสี
ถัดไปสุชัย เจริญรัตนกุล
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
ดำรงตำแหน่ง
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2539
นายกรัฐมนตรีบรรหาร ศิลปอาชา
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ดำรงตำแหน่ง
25 ตุลาคม พ.ศ. 2537 – 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (62 ปี)
จังหวัดพระนคร ประเทศไทย
พรรคการเมืองพลังธรรม (2535–2541)
ไทยรักไทย (2541–2549)
เพื่อไทย (2561–2563)
คู่สมรสสมยศ ลีลาปัญญาเลิศ
บุตร3
ลายมือชื่อไฟล์:ลายเซ็น สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์.png

คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (เกิด 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504) เป็นนักการเมืองสตรีชาวไทย อดีตสมาชิกพรรคเพื่อไทย[1] เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภา 2535 อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญทั้งในรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร และ ชวน หลีกภัย ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไทย[2] และ อดีตประธานยุทธศาสตร์การเลือกตั้งของพรรคเพื่อไทย[3]

ประวัติ

คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 ที่ย่านลาดปลาเค้า ตำบลลาดพร้าว อำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร (ปัจจุบันเป็น เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร) เป็นบุตรสาวของนายสมพล เกยุราพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา - นางเรณู เกยุราพันธ์ คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ได้สมรสกับนายสมยศ ลีลาปัญญาเลิศ นักธุรกิจชาวไทย มีบุตรชาย 2 คน ธิดา 1 คน รวมทั้งหมด 3 คน

  1. นายภูมิภัทร ลีลาปัญญาเลิศ
  2. นายพีรภัทร ลีลาปัญญาเลิศ
  3. นางสาวยศสุดา ลีลาปัญญาเลิศ

การศึกษา

ประวัติการทำงาน

คุณหญิง ดร.สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 ได้เป็น ส.ส. ในเขตกรุงเทพมหานคร ในเขต 12 (มีนบุรี, บางเขน, หนองจอก, ดอนเมือง ยกเว้นแขวงทุ่งสองห้อง) ของพรรคพลังธรรม แต่หลังจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬที่ พล.ต. จำลอง ศรีเมือง ได้วางมือทางการเมืองแล้ว พรรคพลังธรรมก็ได้ผลัดเปลี่ยนหัวหน้าพรรคหลายคน มาจนถึง ทักษิณ ชินวัตร เป็นหัวหน้าพรรค คุณหญิงสุดารัตน์ก็ได้สนิทสนมกับ ทักษิณ ชินวัตร พร้อมกับสมาชิกพรรคอีกหลายคนซึ่งส่วนใหญ่เป็น ส.ส. ในกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2539 พรรคพลังธรรมมี ส.ส. เหลือเพียงคนเดียว คือ คุณหญิงสุดารัตน์นี่เอง และในปี พ.ศ. 2541 เมื่อ ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้ออกมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย คุณหญิงสุดารัตน์ก็เป็นหนึ่งใน 23 บุคคลที่ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย และก็ได้ร่วมงานกับทางพรรคมาจนบัดนั้น

ในปี พ.ศ. 2543 คุณหญิงสุดารัตน์ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในนามของพรรค ได้เบอร์ 5 โดยคู่แข่งขันสำคัญ คือ สมัคร สุนทรเวช ผลการเลือกตั้งปรากฏว่าสมัครชนะด้วยคะแนนที่ท่วมท้น หลังจากนั้นในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี พ.ศ. 2544 คุณหญิงสุดารัตน์ได้ย้ายไปลงในระบบบัญชีรายชื่ออันดับต้น ๆ ของพรรค รวมทั้งการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2548 ในปี พ.ศ. 2548 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ทำให้สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "คุณหญิง" โดยบทบาทในพรรคของคุณหญิงสุดารัตน์เป็นที่รับรู้กันว่า มีอิทธิพลสูง มีสมาชิกในสังกัดอยู่ในความดูแลหลายคน ซึ่งเป็น ส.ส. ในพื้นที่กรุงเทพมหานครทั้งหมด โดยมีฉายาที่เรียกตามชื่อเล่นที่ชื่อ "หน่อย" ว่า "เจ๊หน่อย"

ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549[4]

ในเหตุการณ์การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 จรัล ดิษฐาอภิชัยได้กล่าวยอมรับว่ามีการให้เงินสนับสนุนจากคุณหญิงสุดารัตน์ ซึ่งขณะนั้น คุณหญิงสุดารัตน์ ถูกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ห้ามทำธุรกรรมทางการเงินและต่อมา คุณหญิงสุดารัตน์ ได้ออกมาขู่ฟ้องร้องอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และพลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา[5] มติคณะอนุกรรมการไต่สวนกรณีชี้มูลความผิดโครงการจัดทำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารข้อมูลข่าวสารด้านการเงิน การคลัง และข้อมูลโรงพยาบาลปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2547 ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ชี้มูลว่า คุณหญิงสุดารัตน์ มีความผิดในโครงการดังกล่าว[6]

ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 เธอลงสมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ และเป็นผู้ได้รับเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย แต่ไม่ได้รับเลือกตั้งเนื่องจากสูตรคำนวณตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

ตำแหน่งทางการเมือง

  • 13 กันยายน 2535 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 พรรคพลังธรรม (ลาดพร้าว, วังทองหลาง, บางกะปิ, บึงกุ่ม, คันนายาว, สะพานสูง) และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (สมัยรัฐบาลชวน 1/1)
  • สิงหาคม 2536 การจัดตั้งมูลนิธิผู้หญิงเพื่อประชาธิปไตย และกลุ่มผู้หญิงกับการเมือง ซึ่งต่อมา  พัฒนาเป็นสถาบันผู้หญิงกับการเมือง (เพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงได้มีความรู้ความเข้าใจในการเมือง ที่ถูกต้อง และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองมากขึ้น)
  • พ.ศ. 2537 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขาธิการพรรคพลังธรรม (เป็นเลขาธิการพรรคผู้หญิงคนแรก)
  • 2 กรกฎาคม 2538 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7 พรรคพลังธรรม (บางกะปิ, บึงกุ่ม, วังทองหลาง, คันนายาว, สะพานสูง)
  • 18 กรกฎาคม 2538 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย(เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยหญิงคนแรก) (สมัยรัฐบาลบรรหาร 1)
  • 17 พฤศจิกายน 2539 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7 (บางกะปิ, บึงกุ่ม, วังทองหลาง, คันนายาว, สะพานสูง) โดยเป็น ส.ส. ของพรรคพลังธรรม เพียงคนเดียวในสภา
  • ธันวาคม 2541 จัดตั้งโครงการ “ไทยพึ่งไทย” เพื่อช่วยเหลือผู้หญิงที่ตกงานให้สามารถสร้างงานสร้างอาชีพของตนเองได้ในยามที่ประเทศกำลังประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ
  • 9 มกราคม 2544 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคไทยรักไทย
  • 30 พฤษภาคม 2550 ถูกตัดสิทธิ์ 5 ปี (30 พ.ค. 50 -30 พ.ค. 55) พรรคไทยรักไทยถูกยุบ เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549
  • 5 ตุลาคม 2554 รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการโครงการ “หนึ่งใจ...ช่วยเหลือผู้ประสบภัย และสู้ภัยพิบัติแห่งชาติ” มูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
  • ปัจจุบัน ประธานกรรมการมูลนิธิไทยพึ่งไทย ประธานกรรมการผู้ก่อตั้งสถาบันสร้างไทย

การศึกษาอบรม

  • ปี พ.ศ. 2552    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9
  • ปี พ.ศ. 2554    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานครรุ่น 1) สถาบันพัฒนาเมือง
  • ปี พ.ศ. 2555    หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ภูมิพลังแผ่นดิน รุ่นที่ 1
  • ปี พ.ศ. 2555   หลักสูตรเสาหลักของแผ่นดิน : ผู้นำระดับสูงตามรอยเบื้องพระยุคลบาท รุ่นเกียรติยศของสมาคมสถาบันศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์    
  • ปี พ.ศ. 2555   หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่น 1  (วพน.1) สถาบันวิทยาการพลังงาน
  • ปี พ.ศ. 2556    หลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารทางการแพทย์ รุ่น 2 (ปธพ.2)
  • ปี พ.ศ. 2556    หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา  บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ปี พ.ศ. 2559    หลักสูตรภาษาจีนนักธุรกิจชั้นสูง รุ่นที่ 1 (BLCA)  สถาบันวิทยาการภาษา และวัฒนธรรมปักกิ่งฺ     

  (มี.ค.-ส.ค.)       Beijing Language and Culture Academy   (1 เม.ย.-27 ส.ค.59-รุ่น 1 ระดับ 1)

  • ปี พ.ศ. 2560    อบรมหลักสูตร "Difference : How to harness business creativity" รุ่นที่ 7

  (ก.ค.-พ.ย.)       สถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity : ABC)   มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  • ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร "The Story –The Ultimate Leadership Tool” รุ่นที่ 1

  (ม.ค.-เม.ย.)     สถาบันพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of Business Creativity : ABC)   มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  • ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร “วิทยาการการจัดการสำหรับนักบริหารระดับสูง” (วบส.) รุ่นที่ 1

  (ก.พ.-มิ.ย.)       (Advanced Master of Managerment Program, AMM)  คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

  • ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตรเศรษฐกิจอนาคต และธรรมาภิบาลอินเตอร์เน็ต สำหรับผู้บริหารระดับสูง

  (ก.ย.-พ.ย.)      รุ่นที่ 1  (Future Economy & Internet Governance Executive Program : FEGO) ของสถาบันเศรษฐกิจอนาคต และธรรมาภิบาลอินเตอร์เน็ต โดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

(องค์การมหาชน) : สพธอ. ETDA

  • ปี พ.ศ. 2561    อบรมหลักสูตร Leading Digital Transformation สำหรับผู้บริหาร เจ้าของธุรกิจ และผู้นำองค์กร

  (ต.ค.-ธ.ค.)       โดยบริษัท อีเอ็กซ์ จำกัด                     

รางวัลและเกียรติยศ

  • Thailand Tatler Award Most talked about personality of the year จัดโดย Thailand Tatler ปี 2539
  • รางวัลเกียรติคุณวิจิตรแพรวา เป็นผู้นำการแต่งกายด้วยผ้าไหมแพรวา จัดโดยจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2539
  • ศิษย์เซนต์โยเซฟตัวอย่าง “นวุฒิพรรษ” สาขาการเมือง (ผู้มีความประพฤติดี และรางวัลมารยาทงาม) จัดโดยสมาคมศิษย์เซนต์โยเซฟ คอนเวนต์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2540
  • รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2540
  • รางวัลนิสิตเก่าดีเด่น ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ยอดหญิง 2540 โดยสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี ปี 2540
  • สาวเปรียว ประจำปี 2541 จากนิตยสารเปรียว
  • ประกาศเกียรติคุณได้รับโหวตจากผู้ฟังรายการ “เวทีผู้หญิง” เป็นสตรีเพชรงามในสายอาชีพนักการเมือง ปี 2541
  • คนรักรัฐธรรมนูญ จัดโดยชมรมคนรักรัฐธรรมนูญร่วมกับรัฐสภา ปี 2541
  • นักสุขศึกษาดีเด่น สาขาการบริหารนโยบาย จากสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ปี 2546
  • Tobacco-Free World Award 2003 จากองค์การอนามัยโลก (WHO)
  • สตรีไทยดีเด่น ด้านทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ของสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์
  • 17 พฤษภาคม 2554 รับประกาศเกียรติคุณและแสดงความขอบคุณ ในฐานะบุคคลผู้ทำคุณประโยชน์แก่ประเทศเนปาล ในการจัดทำโครงการบูรณปฎิสังขรณ์สถานที่ประสูติองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
  • รางวัล “ตาราอวอร์ด” รางวัลสำหรับคนปลุกหัวใจสังคมด้วยหัวใจโพธิสัตว์ จากเสถียรธรรมสถาน
  • โล่รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา จากสมเด็จพระวันรัต ผู้แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราชมหาวิทยาลัยมกุฎราชกุมารวิทยาลัย
  • 18 กรกฎาคม 2563 รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านการพัฒนาสังคมและ/หรือบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ประจำปี 2563 เนื่องในวันบุรพาจารย์ฯ ของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  (มจร.)  
  • 19 กรกฎาคม 2563  รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา และสังคม” โครงการทำความดีด้วยใจ เทิดไท้องค์ราชัน เฉลิมพระเกียรติวันเฉลิมฯ ร.10 ของกรมการศาสนา วัดลาดปลาเค้า คณะสงฆ์เขตลาดพร้าว

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • 5 ธันวาคม 2535 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
  • 5 ธันวาคม 2536 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
  • 5 ธันวาคม 2537 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
  • 5 ธันวาคม 2538 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
  • 5 ธันวาคม 2539 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
  • 5 ธันวาคม 2542 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
  • 5 พฤษภาคม 2548 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น จตุตถจุลจอมเกล้า (จ.จ.)
  • 5 ธันวาคม 2548 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.)  “ชั้นสายสะพาย”

ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

  • ผลักดันให้เกิดการวางโครงสร้างการแก้ไขปัญหาการจราจรอย่างเป็นระบบทั้งแผนการแก้ไขปัญหาจราจรระยะสั้น & ระยะยาว
  • ผ่าตัดระบบการผูกขาดของบริษัท ขนส่ง จำกัด เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานให้ดีขึ้น
  • แก้ไขปัญหาระบบการทำงานของ รสพ. ที่ประสบภาวะขาดทุน ให้มีผลประกอบการเป็นกำไร เป็นครั้งแรกตั้งแต่ก่อตั้ง รสพ.
  • ผลักดันให้มีสถานีขนส่งแห่งใหม่ ทำให้เกิดความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และลดความแออัดคับคั่งของการจราจรลงได้

ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

  • เร่งเพิ่มพื้นที่ผิวจราจร โดยจัดระบบโครงข่ายถนนใน กทม. ให้ประสานเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อให้สามารถระบายรถได้เร็วขึ้น โดยไม่ผ่านกลางเมือง หรือไม่ต้องใช้ถนนสายหลักเดิมที่ติดขัดอยู่แล้ว จำนวน 40 สาย ระยะทางกว่า 120 กิโลเมตร
  • เร่งรัดการสร้างถนนสายรอง และตัดทะลุตรอก ซอก  ซอย ใน กทม. จำนวน 12 เส้นทาง โครงการก่อสร้างสะพานข้ามทางแยกจำนวน 6 ทางแยก, โครงการสร้างอุโมงค์ลอดถนน 5 แห่ง
  • เร่งรัดและผลักดันโครงการของกรมโยธาธิการ ประกอบด้วย โครงการถนนสายหลักและสายรอง 13 สาย, โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 5 สะพาน
  • ผลักดันให้เกิดการวางระบบทางด่วนที่เป็นเครือข่ายครบวงจร และเร่งรัดให้สามารถเปิดใช้ได้เร็วขึ้น เช่น ทางด่วนขั้นที่ 2 ช่วงพญาไท บางโคล่, โครงการรามอินทรา - อาจณรงค์ ช่วงรามอินทรา - พระราม 9 และช่วงพระราม 9 - อาจณรงค์, โครงการทางด่วนสายบางนา – บางพลี - บางประกง ช่วงบางนา - วัดศรีเอี่ยม, ปรับปรุงทางขึ้นลง สุขุมวิท - เพชรบุรี และบริเวณทางแยกต่างระดับคลองเตย เพื่อแก้ปัญหาคอขวดของการจราจร
  • ผลักดันให้เกิดโครงการระบบขนส่งมวลชนในจังหวัดเชียงใหม่ 4 เส้นทาง และโครงการสำรวจข้อมูลและศึกษาสภาพการจราจร และการขนส่งในเมืองภูมิภาค รวม 7 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา พิษณุโลก ขอนแก่น ภูเก็ต สงขลา ฉะเชิงเทรา และนครศรีธรรมราช
  • เร่งรัดโครงการเมืองบริวารและชุมชนย่อย เพื่อสกัดกั้นและกระจายคนออกจากกรุงเทพฯ
  • การรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามกฎจราจร เพื่อลดปัญหาการจราจร
  • เริ่มมาตรการการเคร่งครัดการจับกุมผู้กระทำผิดกฎจราจร เพื่อให้มีการสร้างวินัยจราจรที่ดีขึ้น

ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

1.        นโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

-           การดำเนินโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค

-           โครงการโมบายคลินิก  จัดทำขึ้นเพื่อสนองแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยประชาชนที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร ให้ได้รับการบริการอย่างทั่วถึง มีระบบติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง

-           ศูนย์สุขภาพชุมชน  เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ สถานพยาบาลใกล้บ้าน ใกล้ใจ

-           การจัดศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจในภูมิภาค  4 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี พิษณุโลก ยะลา นครราชสีมา

-           ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน  ช่วยให้ประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤติ และอยู่ห่างไกลจากโรงพยาบาลให้ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที แล้วยังส่งผลให้การรอดชีวิตมีอัตราที่สูงขึ้น ความพิการน้อยลง รวมทั้งให้คำปรึกษาช่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือได้รับการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยทางโทรศัพท์หมายเลข 1669

2.        นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติด

-           การดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด To be Number 1 มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด รวมถึงการสร้างพลังที่ถูกต้อง เสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิต ซึ่งโครงการนี้ได้รับพระกรุณาธิคุณจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ทรงรับเป็นองค์ประธานคณะกรรมการอำนวยการ และเสด็จเป็นองค์นำการจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ ที่สำคัญมีการจัดตั้งชมรม To be Number one club ในชุมชนจำนวน 27,122 ชมรม ในสถานศึกษาจำนวน 16,472 ชมรม และในสถานประกอบการจำนวน 22,701 ชมรม รวมถึงการรับสมัครสมาชิก ขณะนี้มีสมาชิกจำนวนกว่า 20,531,253 คน ทั่วประเทศ

-           ฮอตไลน์สายด่วนยาเสพติดหมายเลข 1165 ด้วยระบบอัตโนมัติ มีรายการให้เลือกฟังกว่า 500 รายการ สามารถรับฟังข้อมูลเรื่องโทษยาเสพติด การช่วยเหลือ - เฝ้าระวังผู้ติดยา แนวทางการป้องกันและสถานที่บำบัด รวมถึงการสอบถามได้โดยตรงกับผู้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติด

-           การเตรียมความพร้อม สถานบำบัดรองรับผู้ติดยาเสพติด การพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนให้มีการบำบัดตามมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ พัฒนาระบบการบำบัดแบบจิต สังคมบำบัด Matrix Program

3.        นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพดี

การประกาศให้ปี 2545 เป็นปีแห่งการเริ่มต้นรณรงค์สร้างสุขภาพทั่วไทย โดยใช้ยุทธศาสตร์รวมพลังสร้างสุขภาพ

-           การออกกำลังกาย รณรงค์ให้ประชาชนคนไทยหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ลดโรคสำคัญที่ทำให้เกิดอัตราการตายสูงของคนไทย เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวานและความดันโลหิต ปรากฏว่าปัจจุบันมีชมรมสร้างสุขภาพที่มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นจาก 10,638 ชมรม เป็น 35,184 ชมรม และมีผู้ออกกำลังกายเพิ่มขึ้นจาก 11.5 ล้านคน เป็น 25.2 ล้านคน

-           การจัดงานรวมพลคนเสื้อเหลือง เมื่อ 23 พ.ย. 45 สามารถรวมพลังประชาชนมาออกกำลังกายได้สูงสุดถึง 46,824 คน ใช้เวลาออกกำลังกายนาน 61 นาที ทำลายสถิติโลกและได้ถูกบันทึกลงในกินเนสบุ๊ค และจะมีการจัดงานขึ้นทุกปีเพื่อให้ประชาชนนิยมการออกกำลังกายป้องกันการเกิดโรคตลอดไป

-           โครงการวิ่ง 30 สู่สุขภาพดี เพื่อกระตุ้นและจุดประกายให้เด็กนักเรียนทั่วประเทศได้ออกกำลังกายและเล่นกรีฑาเป็นทีม สร้างสีสันในการส่งเสริมการออกกำลังกาย มีกติกาทีมละ 30 คน วิ่งผลัดในระยะทาง 400 เมตร ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที ผลที่ได้รับมีทั้งสุขภาพแข็งแรง และการฝึกการทำงานเป็นทีม

-           โครงการขยับกายสบายชีวี ส่งเสริมให้สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจัดให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายในสถานประกอบการ ทำให้คนทำงานได้มีการออกกำลังกายในสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ว่าอยู่ที่บ้านหรือที่ทำงาน โดยออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันวันละ 30 นาที

-           โครงการสวนสาธารณะรื่นรมย์ ให้ประชาชนมีสถานที่ออกกำลังกายและพักผ่อนหย่อนใจที่มีความสะอาด ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีชีวิตชีวา ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยเสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็ง เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

-           โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ พัฒนารูปแบบการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก และอบรมผู้ดูแลเด็กเล็กของศูนย์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการให้บริการอบรมดูแลเด็กให้มีคุณภาพดี

-           โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาลซึ่งเป็นแหล่งบำบัดรักษาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพให้สามารถดำเนินการส่งเสริม สร้างเสริมสุขภาพมิให้คนกลับมาป่วยซ้ำ

-           โครงการมุมเพื่อนใจวัยรุ่น เพื่อให้วัยรุ่นสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการของวัยรุ่น ลดปัญหาและมีทางออกในการแก้ไขปัญหาที่ถูกวิธี โดยตั้งมุมเพื่อนใจวัยรุ่น ตามแหล่งที่วัยรุ่นชอบไป เช่น ศูนย์การค้า

4.        นโยบายการสร้างความปลอดภัยอาหารแห่งชาติ

Food Safety เพื่อสุขภาพที่ดีของชาวไทย และเพื่อส่งเสริมการส่งออกอาหารไทยออกไปทั่วโลก โดยจะมีการรณรงค์และเผยแพร่คุณภาพมาตรฐานอาหารของไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกว้างขวางออกไปสู่การยอมรรับทั้งในและต่างประเทศ โดยเน้นมาตรฐานความสะอาดและความปลอดภัยของอาหารหลัก 3 กลุ่ม คือ อาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารปรุงจำหน่าย

-           อาหารสด ได้รับการแก้ไขจนอยู่ในระดับที่น่าพอใจ คือ การปนเปื้อนบอแรกซ์จากร้อยละ 42 ลดลงเหลือ 0.55 สารกันราจากร้อยละ 17.2 ลดลงเหลือ 3.6 ฟอร์มาลินจากร้อยละ 10 ลดลงเหลือ 1.69 สารฟอกขาวจากร้อยละ 10 ลดลงเหลือ 3.48 ซึ่งอาหารสดที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงสาธารณสุข จะได้รับป้ายอาหารปลอดภัย โดยขณะนี้ได้มอบป้ายไปแล้ว 57,267 ป้าย

-           อาหารแปรรูป กระทรวงสาธารณสุขได้ดูแลอย่างเข้มงวด โดยการควบคุมมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภททั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 9,609 แห่ง ผ่านมาตรฐานตามวิธีการที่ดีในการผลิต (GMP) ตามมาตรฐานสากล 3,334 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.64

-           อาหารปรุงจำหน่าย ในร้านอาหาร ภัตตาคาร และแผงลอยทั่วไป ได้เข้มงวดเรื่องความสะอาด และสุขลักษณะของสถานที่ อาหาร ภาชนะ และผู้ปรุงประกอบ ซึ่งสังเกตได้จากป้าย “อาหารสะอาดรสชาติอร่อย” หรือ “Clean food Good Taste” โดยมอบป้ายไปแล้ว 17,404 ป้าย

-           ความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียน หรือ “อย.น้อย” โดยร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการตรวจสอบอาหารในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง ซึ่งมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการกว่า 5,154 แห่งทั่วประเทศ และจะดำเนินการขยายผลการดำเนินงานทุกแห่งทั่วประเทศต่อไป

-           โครงการตลาดสดน่าซื้อ / clean food good taste / food for health เป็นการควบคุมให้ตลาดสดจำหน่วยสินค้าที่ปลอดภัยไร้สารพิษ ปัจจุบันมีตลาดสดเข้าร่วมโครงการ 731 แห่ง

-           โครงการคุ้มครองความปลอดภัยอาหารตัดแต่งพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) ดำเนินงานเร่งรัดการสร้างกรอบกำหนดค่ามาตรฐานสารปนเปื้อนขึ้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพเครื่องมือการตรวจหาสัดส่วนของสารปนเปื้อนที่อยู่ในอาหารแปรรูป กำหนดให้ติดฉลากเพื่อระบุว่าอาหารนั้นมีสารจีเอ็มโออยู่ด้วยหรือไม่ เพื่อให้ประชาชนสามารถตัดสินใจในการเลือกบริโภค

-           โครงการแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยในเนื้อหมูจากสารเร่งเนื้อแดง/สารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักผลไม้/ยาสัตว์ตกค้างและเชื้อจุลินทรีอาหารเป็นพิษ/ยาต้านจุลชีพในกุ้งเลี้ยง/สาร 3-เอ็มพีซีดี

5.        นโยบายลดโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ

-           โครงการรณรงค์ลดการสูบบุหรี่

-           โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก

-           โครงการรณรงค์แก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก

-           โครงการแก้ปัญหาโรคเอดส์ ให้ผู้ป่วยเข้าถึงยาต้านไวรัศเอดส์

-           โครงการรณรงค์ลดปัญหาอุบัติเหตุจราจร

6.        นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขระหว่างประเทศ

-           ความร่วมมือประเทศกัมพูชา พม่า ลาว แก้ปัญหาสาธารณสุขชายแดน

-           ความร่วมมือประเทศเนเธอร์แลนด์แก้ปัญหายาเสพติด

-           การผลักดันองค์การอนามัยโลกหนุนนโยบายถุงยางอนามัย 100 % ป้องกันโรคเอดส์

-           ความร่วมมือองค์การอนามัยโลก ถ่ายทอดประสบการณ์การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้นแบบ

-           การผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุข 6 ประเทศลุ่มน้ำโขง

-           การเจรจาลดค่าสมาชิกองค์การอนามัยโลก

-           โครงการความร่วมมือประเทศอิตาลี ผลิตเข็มฉีดยาปลอดภัย

-           โครงการความร่วมมือประเทศญี่ปุ่น ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบพักผ่อนระยะยาว (Long stay)

-           โครงการความร่วมมือประเทศจีน พัฒนาสมุนไพรและการส่งออกยาต้านไวรัสเอดส์

7.        นโยบายการพัฒนาศักยภาพการสาธารณสุข

-           โครงการพัฒนา “นวดแผนไทย” เพื่อการส่งเสริมภูมิปัญญาไทย

-           โครงการพัฒนาองค์การเภสัชกรรม ผลิตยาคุณภาพ ส่งออกตลาดเสรี มีระบบบริหารจัดการในองค์การที่ทันสมัย เป็นแบบอย่างในการผลิตยาได้มาตรฐาน สนับสนุนการผลิตยาสมุนไพรทดแทนการนำเข้า

-           โครงการจัดตั้งธนาคารสมอง สนองพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อรวบรวมผู้เกษียณอายุที่มีความรู้ความสามารถเป็นอาสาสมัครช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุข พร้อมใช้เป็นต้นแบบขยายการจัดตั้งให้ครบทุกจังหวัด

ผลงานระหว่างดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1.    นโยบายการปรับโครงสร้างการผลิตการเกษตร

-           การเปิดและขยายตลาดสินค้าเกษตร เจรจาเพื่อลดข้อกีดกันทางการค้า รวมทั้งประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรในตลาดต่างประเทศ ทำให้สินค้าเกษตรไทยส่งออกได้เพิ่มขึ้น

-           การปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร  ให้เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร เพื่อแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตร

-           แผนความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) พัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน กำหนดให้มีการใช้สัญลักษณ์รูปตัว Q  เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงคุณภาพสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย ได้มาตรฐานของประเทศและสากล

2.   สนองโครงการพระราชดำริ

-           การผลักดันให้เกิดกรมข้าว และสถาบันหม่อนไหมแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

การดำเนินกิจกรรมวาระพิเศษ

- การจัดสร้างพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทรา พระบรมราชชนนี ประทับนั่งเคียงกัน ด้วยตลอดพระชนม์ชีพทั้ง 2 พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อประชาชนชาวไทย กล่าวได้ว่า เป็นผู้วางรากฐานการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ กระทรวงสาธารณสุขรู้สึกสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้จัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ ไม่เพียงน้อมเกล้าถวายเกียรติคุณและเทิดพระเกียรติแด่ 2 พระองค์ ยังน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้เป็นอนุสรณ์สถิตแห่งความรักเทิดทูน และรำลึกถึงพระเมตตาธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณแห่ง 2 พระองค์ อีกทั้งเพื่อปลุกจิตสำนึกให้ผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้สืบสานดำเนินรอยตาม พัฒนาสุขภาพให้แข็งแรง

-           การจัดงานเยาวชนน้อยร้อยดวงใจมอบให้แม่เพื่อเทิดพระเกียรติในวโรกาสครบ 60 พรรษามหาราชินี

-           การจัดงานกาล่าดินเนอร์การกุศลเทิดพระเกียรติ 70 พรรษา มหาราชินี เพื่อรณรงค์และส่งเสริมให้คนไทยและชาวต่างประเทศหันมานิยมใช้ผ้าไทย และรายได้ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ ในโครงการศิลปาชีพ ยอดทูลเกล้าฯ รวม 62,242,149 ล้านบาท โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ เสด็จเป็นองค์ประธานเมื่อ 12 ธ.ค. 42

-           โครงการ “แก้วตาดวงใจ เทิดไท้ 72 พรรษา มหาราชินี” ผ่าตัดตาต้อกระจก 100,000 ดวง และโรคหัวใจ 7,200 ราย ซึ่งเริ่มโครงการตั้งแต่ปี 2544 เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหัวใจและผู้ป่วยตาต้อกระจกที่ยังไม่ได้รับการผ่าตัด โดยเฉพาะผู้ป่วยยากไร้ที่ไม่มีโอกาสเข้ารับการรักษาให้ได้รับการผ่าตัดได้ทันเวลาเพื่อที่จะรักษาชีวิตและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

-           การจัดงาน “รวมพลังอาหารปลอดภัย ถวายแด่แม่ของแผ่นดิน” ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เมื่อวันที่ 6 – 8 ธ.ค. 46 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องวโรกาสพระชนมายุครบ 72 พรรษา ที่พระองค์ทรงมีความห่วงใยพสกนิกรในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร และเป็นการให้ความรู้แก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และความพยายามที่จะทำให้อาหารที่คนไทยบริโภคมีความสะอาดปลอดภัยทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศ นอกจากนี้ยังได้จัดทำหนังสือเฉลิมพระเกียรติ “กินตามแม่” ขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างที่แสดงวิธีการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ถัดไป
วันมูหะมัดนอร์ มะทา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ครม.55)
(11 มีนาคม พ.ศ. 2548 – 19 กันยายน พ.ศ. 2549)
ธีระ สูตะบุตร
กร ทัพพะรังสี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ครม.54)
(17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2548)
สุชัย เจริญรัตนกุล