หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว., ว.ป.ร.1, อ.ป.ร.1 | |
---|---|
![]() | |
ผู้บัญชาการทหารเรือ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494 – 19 กันยายน พ.ศ. 2500 | |
ก่อนหน้า | พลเรือเอก หลวงพลสินธวาณัติก์ |
ถัดไป | พลเรือเอก หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ |
รองนายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 10 | |
ดำรงตำแหน่ง 21 กันยายน พ.ศ. 2500 – 1 สิงหาคม พ.ศ. 2515 (14 ปี 314 วัน) | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 19 ตุลาคม พ.ศ. 2436 |
เสียชีวิต | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2518 (82 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
การเข้าเป็นทหาร | |
สังกัด | ผู้บัญชาการทหารเรือ |
ประจำการ | 2494-2500 |
ยศ | ![]() ![]() ![]() |
บังคับบัญชา | กองทัพเรือ |
จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ [2] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ [3] กระทรวงสหกรณ์ [4]กระทรวงวัฒนธรรม[5] และรองนายกรัฐมนตรี[6][7]
ประวัติ[แก้]
จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494[8] ถึง 19 กันยายน พ.ศ. 2500
หลวงยุทธศาสตร์โกศล ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ[9] เมื่อ พ.ศ. 2494-2495 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ ระหว่าง พ.ศ. 2495-2498 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ระหว่าง พ.ศ. 2498-2500 และรองนายกรัฐมนตรี เมื่อ พ.ศ. 2500 ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศทหาร ให้เป็น "พลเอก จอมพลเรือ และ พลอากาศเอก" เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2499[10]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2496 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[11]
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2496 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[12]
- พ.ศ. ไม่ปรากฎ -
เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1 (ว.ป.ร.1)
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4 (ป.ป.ร.4)
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1)
- พ.ศ. ไม่ปรากฏ -
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2499/D/026/1.PDF
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
- ↑ รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ ๒๔
- ↑ รายชื่อคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๕
- ↑ รายชื่อคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๖
- ↑ รายชื่อคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๐ ราย) เล่ม 74 ตอน 33ก วันที่ 1 เมษายน 2500
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๕ ราย)
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2499/D/026/1.PDF
- ↑ แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ↑ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2436
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2518
- รองนายกรัฐมนตรีไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย
- ทหารเรือชาวไทย
- จอมพลชาวไทย
- จอมพลเรือชาวไทย
- บรรดาศักดิ์ชั้นหลวง
- บุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์
- บุคคลจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว.
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ว.ป.ร.1
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ป.ป.ร.4
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ อ.ป.ร.1
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ภ.ป.ร.2
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์