ข้ามไปเนื้อหา

ศุภชัย พานิชภักดิ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศุภชัย พานิชภักดิ์
ศุภชัย ใน พ.ศ. 2550
เลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา
ดำรงตำแหน่ง
1 กันยายน พ.ศ. 2548 – 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ก่อนหน้าคาร์ลอส ฟอร์ติน
ถัดไปมูคิสะ คิทูยิ
ผู้อำนวยการองค์การการค้าโลก
ดำรงตำแหน่ง
1 กันยายน พ.ศ. 2545 – 1 กันยายน พ.ศ. 2548
ก่อนหน้าไมค์ มัวร์
ถัดไปปาสกัล ลามี
รองนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย
ก่อนหน้าสม จาตุศรีพิทักษ์
ถัดไปอดิศัย โพธารามิก
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด30 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 (78 ปี)
กรุงเทพมหานคร
พรรคการเมืองประชาธิปัตย์ (2529–ปัจจุบัน)
คู่สมรสศสัย พานิชภักดิ์

ศาสตราจารย์พิเศษ ศุภชัย พานิชภักดิ์ นักการเมืองและนักวิชาการชาวไทย ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษหลายสถาบัน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน)[1] กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์[2] อดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ อังก์ถัด (UNCTAD) อดีตผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก (WTO) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560[3] ศุภชัยมีชื่อเรียกย่อ ๆ ที่รู้จักกันทั่วไปว่า ดร.ซุป

ครอบครัว

[แก้]

ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ที่ กรุงเทพมหานคร ลูกหลานชาวจีนแคะ เป็นบุตรของนายพร และนางเพ็ญผล พานิชภักดิ์ สมรสกับนางศสัย พานิชภักดิ์ มีบุตรธิดา 2 คน[4] ได้แก่นายปริญญ์ พานิชภักดิ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ น.ส.นฤน พานิชภักดิ์ ดีไซน์เนอร์

การศึกษา

[แก้]

การทำงาน

[แก้]

เริ่มทำงานกับ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ที่ CAMBRIDGE ตำแหน่ง VISITING FELLOW ปี 2516

ธนาคารแห่งประเทศไทย

[แก้]

งานการเมือง

[แก้]

อื่นๆ

[แก้]

โดยแบ่งกันดำรงตำแหน่งคนละ 3 ปี กับนายไมค์ มัวร์ เนื่องจากไม่สามารถหาข้อยุติด้วยการลงมติเป็นเอกฉันท์ได้ โดยขึ้นดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2545

โดย นายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้เสนอชื่อให้ขึ้นดำรงตำแหน่งหลังจากหมดวาระใน องค์การการค้าโลก และได้รับการรับรองจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2548

  • พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานประจำปี
  2. คณะกรรมการสภาที่ปรึกษาพรรค เก็บถาวร 2018-04-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนจากเว็บไซต์พรรคประชาธิปัตย์ สืบค้นวันที่ 16 มีนาคม 2561
  3. "นายกฯ เซ็น ตั้ง 39 ผู้ทรงคุณวุฒิ ป.ย.ป.แล้ว คนดังเพียบ!". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-19. สืบค้นเมื่อ 2017-07-31.
  4. ศุภชัย พานิชภักดิ์
  5. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๘ ราย)
  6. The International Institute for Management Developmentเก็บถาวร 2020-08-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน,,
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๑๕๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๕
  8. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๒๐๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๔

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ก่อนหน้า ศุภชัย พานิชภักดิ์ ถัดไป
คาร์ลอส ฟอร์ติน
เลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา
(พ.ศ. 2548 – 2556)
มูคิสะ คิทูยิ
ไมค์ มัวร์
ผู้อำนวยการองค์การการค้าโลก
(พ.ศ. 2545 – 2548)
ปาสกัล ลามี
สม จาตุศรีพิทักษ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
(14 พฤศจิกายน 2540 – 9 พฤศจิกายน 2543)
อดิศัย โพธารามิก