ข้ามไปเนื้อหา

กฤช ปุณณกันต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กฤช ปุณณกันต์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ดำรงตำแหน่ง
1 มกราคม – 20 ตุลาคม 2501
นายกรัฐมนตรีจอมพล ถนอม กิตติขจร
ก่อนหน้าพลเอก หลวงสวัสดิ์กลยุทธ์ (สวัสดิ์ ไกรฤกษ์)
ถัดไปบุณย์ เจริญไชย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร
ดำรงตำแหน่ง
23 กันยายน – 26 ธันวาคม 2500
นายกรัฐมนตรีพจน์ สารสิน
ก่อนหน้าพลอากาศโท เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร
ถัดไปชื่น ระวิวรรณ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด11 ตุลาคม พ.ศ. 2455
จังหวัดพระนคร
เสียชีวิต13 สิงหาคม พ.ศ. 2529 (73 ปี)
กรุงเทพมหานคร
พรรคการเมืองสหประชาไทย
คู่สมรสคุณหญิงผุสสดี ปุณณกันต์
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองทัพบกไทย
ประจำการพ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2516
ยศ พลเอก

พลเอก กฤช ปุณณกันต์ (11 ตุลาคม พ.ศ. 2455 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2529) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร ในรัฐบาลนายพจน์ สารสิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตผู้บัญชาการศูนย์การทหารม้า

ประวัติ

[แก้]

พล.อ.กฤช เป็นบุตรของร้อยเอก หลวงพลวินัยกิจ (อำไพ ปุณณกันต์) และ ทองดำ พลวินัยกิจ เป็นพี่ชายของพลเอก พงษ์ ปุณณกันต์ เคยเป็นอดีตผู้บัญชาการศูนย์การทหารม้า

พล.อ.กฤช ได้รับแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแต่งตั้ง ในปี พ.ศ. 2494 (สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6)[1] ถึงสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8[2] พ.ศ. 2500

พล.อ.กฤช ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร ในรัฐบาลนายพจน์ สารสิน ในปี พ.ศ. 2500[3] และลาออกพร้อมกันทั้งคณะรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 จากนั้นเขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร

พล.อ.กฤช เป็นอดีตอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ระหว่างปี พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2516[4]

ในปี พ.ศ. 2511 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาในวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3[5] ต่อมาได้เข้าร่วมจัดตั้งและเป็นเป็นกรรมการบริหารพรรคสหประชาไทย ซึ่งมีจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นหัวหน้าพรรค[6]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

ไทย

[แก้]

ต่างประเทศ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-09-29. สืบค้นเมื่อ 2020-04-07.
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี (จำนวน ๒๙ ราย)
  4. "รายชื่ออธิบดีกรมประชาสัมพันธ์" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-11. สืบค้นเมื่อ 2020-04-07.
  5. "วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-04-07. สืบค้นเมื่อ 2020-04-07.
  6. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จดทะเบียนพรรคการเมือง (พรรคสหประชาไทย) เล่ม 85 ตอน 117 ง พิเศษ หน้า 3375 10 ธันวาคม พ.ศ. 2511
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๑ ตอนที่ ๑๑๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๒, ๑๗ ธันวาคม ๒๕๐๗
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๗ ตอนที่ ๑๐๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๓, ๑๔ ธันวาคม ๒๕๐๓
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-11-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๔๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๘๓๖, ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๑๒
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ เก็บถาวร 2022-11-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๕๘๘, ๙ ธันวาคม ๒๔๘๔
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ เก็บถาวร 2022-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
  12. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ เก็บถาวร 2022-05-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๑๘๗, ๗ ตุลาคม ๒๔๗๗
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา เก็บถาวร 2022-06-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๓ ตอนที่ ๘๐ ง หน้า ๑๙๒๗, ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๙
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๓ ตอนที่ ๑๗ ง หน้า ๔๒๙, ๒๖ มีนาคม ๒๔๘๙
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-12-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๑๓ ง หน้า ๕๔๘, ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๗
  16. Thailand ~ Philippines 1968