ข้ามไปเนื้อหา

หน้าหลัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความคัดสรรเดือนนี้
พลูโทเนียมบริสุทธิ์เป็นโลหะสีขาวเงิน เมื่อสัมผัสอากาศได้รวมตัวกับออกซิเจนจะมีสีหมองลง
พลูโทเนียมบริสุทธิ์เป็นโลหะสีขาวเงิน เมื่อสัมผัสอากาศได้รวมตัวกับออกซิเจนจะมีสีหมองลง

พลูโทเนียมเป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี ค้นพบครั้งแรกใน ค.ศ. 1940 โดยการระดมยิงยูเรเนียม-238 ด้วยดิวเทอรอน และได้ชื่อตามดาวพลูโต ต่อมาพบพลูโทเนียมได้ในธรรมชาติอีกด้วย แต่ในช่วงแรกการค้นพบถูกปิดเป็นความลับอันสืบเนื่องจากโครงการแมนฮัตตัน

พลูโทเนียมเป็นโลหะแอกทิไนด์ สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะเกิดสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์ ซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง

ไอโซโทปของพลูโทเนียมที่เป็นวัสดุฟิสไซล์ (ได้แก่ พลูโทเนียม-239 และ พลูโทเนียม-241) สามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การสร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ระเบิดนิวเคลียร์สองลูกที่ใช้พลูโทเนียมเป็นเชื้อเพลิงที่เป็นรู้จักกัน ได้แก่ ทรินิตี (ทดสอบที่รัฐนิวเม็กซิโกเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945) และแฟตแมน (ทิ้งที่นางาซากิเมื่อ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1945 นำไปสู่การสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง)

หมายเหตุ: บทความนี้ไม่ใช่บทความคัดสรร แต่เป็นบทความคุณภาพ ซึ่งถือว่ามีคุณภาพรองลงมา

บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 และพระราชนัดดาวัดพระศรีรัตนศาสดารามโฮเอลุง
รู้ไหมว่า...
เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดและเพิ่งปรับปรุงของวิกิพีเดีย :
โจ ไบเดิน
โจ ไบเดิน
เรื่องจากข่าว
วันนี้ในอดีต

4 ตุลาคม: วันสัตว์โลก; วันประกาศเอกราชในเลโซโท (พ.ศ. 2509)

ดูเพิ่ม: 3 ตุลาคม4 ตุลาคม5 ตุลาคม

สารานุกรม

ป้ายบอกทาง

  • ศาลาประชาคม – กระดานข่าว โครงการ ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง
  • แผนกช่วยเหลือ – ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย
  • ปุจฉา-วิสัชนา – ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้
  • ข่าวไซต์ – ประกาศ อัพเดต บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย
  • สภากาแฟ – สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย
  • Local Embassy – For Wikipedia-related discussion in languages other than Thai.
  • สร้างบทความใหม่ – บทช่วยสอนสำหรับเตรียมพร้อมสร้างบทความแรกของคุณ

ภาษาอื่น

นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีกทั้งหมด 324 ภาษา โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่แสดงรายการด้านล่างนี้