เชาวน์ ณศีลวันต์
เชาวน์ ณศีลวันต์ | |
---|---|
![]() | |
องคมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ( 40 ปี 352 วัน) | |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม | |
ดำรงตำแหน่ง 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 – 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ( 0 ปี 263 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | สัญญา ธรรมศักดิ์ |
ก่อนหน้า | ชลี สินธุโสภณ |
ถัดไป | สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 7 สิงหาคม พ.ศ. 2471 (91 ปี) กรุงเทพมหานคร ประเทศสยาม |
คู่สมรส | ไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่กรรม) |
เชาวน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม พ.ศ. 2471) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่กรรมด้วยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ. 2523) มีบุตร 1 คน คือ ไชย ณศีลวันต์
เนื้อหา
การศึกษาและวุฒิกิตติมศักดิ์[แก้]
- โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
- โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา[1]
- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2493)
- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2494)
- Master of Science in Mechanical Engineering (S.M.) สถาบันเอ็มไอที เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา (2496)
- Mechanical Engineering Degree (Mech.E.) สถาบันเอ็มไอที เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา (2498)
- Doctor of Science in Mechanical Engineering (Sc.D.) สถาบันเอ็มไอที เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา (2499)
- วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 15 (2515)
- วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2527)
- บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2529)
- ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (2530)
ตำแหน่งที่สำคัญในปัจจุบัน[แก้]
- กรรมการบริหารมูลนิธิอานันทมหิดล
- กรรมการมูลนิธิชัยพัฒนา
- ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์มูลนิธิศึกษาพัฒน์
- ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518รสำนังานทัพย์สินส่วพระมหากษัตริย์31 -
การทำงาน[แก้]
ดร.เชาวน์ ณศีลวันต์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในหลายองค์กร อาทิ
- วิศวกรประจำฝ่ายการช่างกล การรถไฟแห่งประเทศไทย
- รองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2514
- สมาชิกวุฒิสภา
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[2]
- ประธานกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย
- ประธานกรรมการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
- ประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
- ประธานกรรมการบริษัทไทยเดินเรือทะเล จำกัด
- ประธานกรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
- ประธานกรรมการบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)
- ประธานกรรมการคณะกรรมการควบคุมการขนส่ง
- ประธานกรรมการคณะกรรมการการบินพลเรือน
- กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ
- กรรมการการศึกษาแห่งชาติ
- กรรมการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (พ.ศ. 2517 - 2518)[3]
- ประธานกรรมการบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2531 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) (ฝ่ายหน้า)
- พ.ศ. 2521 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2519 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2517 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
- พ.ศ. 2522 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2
อ้างอิง[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
ก่อนหน้า | เชาวน์ ณศีลวันต์ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
ชลี สินธุโสภณ | ![]() |
![]() รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (ครม.34) (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 – 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) |
![]() |
สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ |
|
|
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2471
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์
- วิศวกรชาวไทย
- องคมนตรี
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมไทย
- สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- นิสิตเก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
- บุคคลจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
- บุคคลจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
- บุคคลจากสถาบันการบินพลเรือน
- ศิษย์เก่าจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเหรียญ ร.ด.ม.(ศ)
- ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ภ.ป.ร.2