ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดนครราชสีมา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต16
คะแนนเสียง593,658 (เพื่อไทย)
313,758 (ก้าวไกล)
192,171 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (12)
ประชาชน (3)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดนครราชสีมา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 16 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 16 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครราชสีมามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พันเอก พระยาเสนาภิมุข (แสง เตมิยาจล) และ นายสนิท เจริญรัฐ[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอโนนวัด และอำเภอกระโทก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโนนลาว, อำเภอสูงเนิน, อำเภอจันทึก, อำเภอปักธงชัย และอำเภอด่านขุนทด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพิมายและอำเภอบัวใหญ่
3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอโชคชัย และอำเภอครบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโนนไทย, อำเภอสูงเนิน, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปักธงชัย และอำเภอด่านขุนทด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบัวใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพิมายและอำเภอโนนสูง
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2500/1 6 คน (เขตละ 6 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 9 คน (เขตละ 9 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอสูงเนิน, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย และอำเภอขามสะแกแสง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และอำเภอห้วยแถลง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอคง, อำเภอบัวใหญ่ และอำเภอประทาย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปักธงชัย และอำเภอปากช่อง
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอโชคชัย, อำเภอครบุรี และกิ่งอำเภอเสิงสาง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย, อำเภอสูงเนิน และอำเภอขามทะเลสอ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และกิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง
12 คน (4 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอสูงเนิน และอำเภอโนนไทย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และอำเภอขามทะเลสอ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอโนนสูง, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอเสิงสาง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง และกิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม
13 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4–5 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง และอำเภอปักธงชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และกิ่งอำเภอหนองบุนนาก
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, กิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง
15 คน (5 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง และอำเภอปักธงชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และกิ่งอำเภอหนองบุนนาก
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง และอำเภอปักธงชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และกิ่งอำเภอโนนแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และกิ่งอำเภอโนนแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม และกิ่งอำเภอแก้งสนามนาง
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง และกิ่งอำเภอเมืองยาง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง และอำเภอโนนแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอขามทะเลสอ และกิ่งอำเภอสำนักตะคร้อ
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว
16 คน (เขต 1–4 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 5–6 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง, อำเภอเสิงสาง และอำเภอหนองบุนนาก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนสูง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง, กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอโนนแดง และกิ่งอำเภอพระทองคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอขามทะเลสอ และกิ่งอำเภอเทพารักษ์
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา [เฉพาะเขตเทศบาลนครนครราชสีมา (ยกเว้นพื้นที่ตั้งแต่หัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา] ไปตามถนนกีฬากลาง จรดถนนช้างเผือก เลี้ยวตามถนนท้าวสุระด้านทิศตะวันออก จรดทางรถไฟ และยึดแนวทางรถไฟสายนครราชสีมา–หนองคายไปบรรจบหลักเขตเทศบาล เรื่อยไปตามแนวเขตเทศบาล จรดหัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา])]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา [เฉพาะตำบลหนองไข่น้ำ ตำบลบ้านเกาะ ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลมะเริง ตำบลหนองระเวียง ตำบลพะเนา ตำบลตลาด ตำบลหัวทะเล ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหนองไผ่ล้อม และเขตเทศบาลนครนครราชสีมา (เฉพาะพื้นที่ตั้งแต่หัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา] ไปตามถนนกีฬากลาง จรดถนนช้างเผือก เลี้ยวตามถนนท้าวสุระด้านทิศตะวันออก จรดทางรถไฟ และยึดแนวทางรถไฟสายนครราชสีมา–หนองคายไปบรรจบหลักเขตเทศบาล เรื่อยไปตามแนวเขตเทศบาล จรดหัวมุมถนนโรงสีข้าวพันธุ์เกษตร [หน้าโรงเรียนเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา])]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสูงเนินและอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลโคกกรวด ตำบลสุรนารี ตำบลไชยมงคล ตำบลหนองจะบก ตำบลปรุใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลหนองกระทุ่ม และตำบลหมื่นไวย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลสีมุม ตำบลพลกรัง ตำบลพุดซา ตำบลจอหอ และตำบลโคกสูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโนนสูงและอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลหนองงูเหลือมและตำบลพระพุทธ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบัวใหญ่, อำเภอแก้งสนามนาง และอำเภอบ้านเหลื่อม
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอชุมพวง (ยกเว้นตำบลประสุข), อำเภอประทาย (เฉพาะตำบลโคกกลาง ตำบลดอนมัน และตำบลตลาดไทร), กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอห้วยแถลงและอำเภอจักราช
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอหนองบุนนาก, อำเภอโชคชัย และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลหนองงูเหลือมและตำบลพระพุทธ)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอครบุรีและอำเภอเสิงสาง
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอปักธงชัยและอำเภอวังน้ำเขียว
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลหนองสาหร่าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอสีคิ้วและอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลหนองสาหร่าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอคง (ยกเว้นตำบลเทพาลัย) และกิ่งอำเภอพระทองคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอด่านขุนทดและกิ่งอำเภอเทพารักษ์
· เขตเลือกตั้งที่ 16 : อำเภอพิมายและอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลประสุข)
· เขตเลือกตั้งที่ 17 : อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย (ยกเว้นตำบลโคกกลาง ตำบลดอนมัน และตำบลตลาดไทร), อำเภอคง (เฉพาะตำบลเทพาลัย), กิ่งอำเภอสีดา และกิ่งอำเภอบัวลาย
17 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลหมื่นไวย ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลหนองจะบก ตำบลปรุใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลสุรนารี ตำบลไชยมงคล และตำบลโคกกรวด)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสูงเนินและอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลหมื่นไวย ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลหนองจะบก ตำบลปรุใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลสุรนารี ตำบลไชยมงคล และตำบลโคกกรวด)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอโนนไทย และกิ่งอำเภอพระทองคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโนนสูงและอำเภอขามสะแกแสง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, กิ่งอำเภอบัวลาย และกิ่งอำเภอสีดา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอประทาย, อำเภอโนนแดง และอำเภอคง
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอชุมพวง, กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอพิมาย
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอห้วยแถลงและอำเภอจักราช
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอโชคชัย และอำเภอหนองบุญมาก
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอเสิงสางและอำเภอครบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอปักธงชัยและอำเภอวังน้ำเขียว
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอปากช่อง
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอสีคิ้ว
· เขตเลือกตั้งที่ 16 : อำเภอด่านขุนทดและกิ่งอำเภอเทพารักษ์
16 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอขามทะเลสอ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย, อำเภอวังน้ำเขียว, อำเภอเสิงสาง และอำเภอครบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสีคิ้ว, อำเภอสูงเนิน, อำเภอด่านขุนทด, อำเภอเทพารักษ์, อำเภอพระทองคำ และอำเภอโนนไทย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 :อำเภอโนนสูง, อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย, อำเภอพิมาย, อำเภอชุมพวง, อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอคง, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอโชคชัย, อำเภอหนองบุญมาก, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
16 คน (เขต 1–4 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 5–6 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม และตำบลหนองจะบก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลบ้านเกาะ ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหัวทะเล ตำบลจอหอ ตำบลตลาด ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลพะเนา ตำบลมะเริง ตำบลหนองระเวียง ตำบลโคกสูง ตำบลหมื่นไวย และตำบลหนองไข่น้ำ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอสูงเนิน (ยกเว้นตำบลเสมา ตำบลมะเกลือใหม่ และตำบลมะเกลือเก่า) และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลปรุใหญ่ ตำบลพลกรัง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลพุดซา ตำบลโคกกรวด ตำบลสุรนารี ตำบลหนองกระทุ่ม และตำบลสีมุม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูงและอำเภอโนนไทย (ยกเว้นตำบลบัลลังก์ ตำบลบ้านวัง ตำบลค้างพลู และตำบลสำโรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง และอำเภอพระทองคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย, อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพิมายและอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลท่าลาด ตำบลประสุข ตำบลชุมพวง ตำบลโนนยอ และตำบลหนองหลัก)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลสาหร่าย ตำบลตลาดไทร ตำบลโนนตูม และตำบลโนนรัง)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอโชคชัย และอำเภอหนองบุญมาก
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอครบุรีและอำเภอเสิงสาง
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอวังน้ำเขียว, อำเภอปักธงชัย และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลไชยมงคล)
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลจันทึก)
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอสีคิ้ว, อำเภอสูงเนิน (เฉพาะตำบลเสมา ตำบลมะเกลือใหม่ และตำบลมะเกลือเก่า) และอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลจันทึก)
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอเทพารักษ์, อำเภอด่านขุนทด และอำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลบัลลังก์ ตำบลบ้านวัง ตำบลค้างพลู และตำบลสำโรง)
15 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม ตำบลโพธิ์กลาง และตำบลหนองจะบก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลหนองจะบก ตำบลไชยมงคล ตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหัวทะเล ตำบลพะเนา และตำบลหนองระเวียง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอขามทะเลสอ, อำเภอสูงเนิน และอำเภอสีคิ้ว (เฉพาะตำบลสีคิ้ว ตำบลมิตรภาพ ตำบลลาดบัวขาว ตำบลคลองไผ่ ตำบลหนองน้ำใส และตำบลหนองหญ้าขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโนนสูง, อำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลถนนโพธิ์ ตำบลมะค่า ตำบลด่านจาก ตำบลกำปัง และตำบลสำโรง) และอำเภอพิมาย (เฉพาะตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำทะเมนชัย, อำเภอเมืองยาง, อำเภอประทาย, อำเภอโนนแดง และอำเภอคง (เฉพาะตำบลเทพาลัย ตำบลขามสมบูรณ์ และตำบลตาจั่น)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอชุมพวงและอำเภอพิมาย (ยกเว้นตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอห้วยแถลง, อำเภอจักราช และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอหนองบุญมาก, อำเภอโชคชัย และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลหนองระเวียง ตำบลพะเนา และตำบลหัวทะเล)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอเสิงสาง, อำเภอครบุรี และอำเภอวังน้ำเขียว (เฉพาะตำบลไทยสามัคคีและตำบลวังน้ำเขียว)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอปักธงชัย, อำเภอวังน้ำเขียว (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคีและตำบลวังน้ำเขียว), อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลไชยมงคลและตำบลหนองบัวศาลา) และอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลวังกะทะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลวังกะทะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอเทพารักษ์, อำเภอด่านขุนทด และอำเภอสีคิ้ว (เฉพาะตำบลดอนเมือง ตำบลกฤษณา ตำบลวังโรงใหญ่ ตำบลหนองบัวน้อย ตำบลบ้านหัน และตำบลกุดน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอพระทองคำ, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอคง (ยกเว้นตำบลเทพาลัย ตำบลขามสมบูรณ์ และตำบลตาจั่น) และอำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลสายออ ตำบลโนนไทย ตำบลค้างพลู ตำบลบ้านวัง และตำบลบัลลังก์)

ดูในกูเกิล แผนที่
14 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองไผ่ล้อม และตำบลโพธิ์กลาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลหนองบัวศาลา ตำบลหนองระเวียง ตำบลหัวทะเล ตำบลมะเริง ตำบลพะเนา ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลตลาด ตำบลบ้านเกาะ ตำบลจอหอ ตำบลหนองไข่น้ำ และตำบลโคกสูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโนนไทย (เฉพาะตำบลด่านจาก ตำบลกำปัง และตำบลสำโรง) และอำเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตำบลพุดซา ตำบลหมื่นไวย ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลปรุใหญ่ ตำบลสีมุม ตำบลพลกรัง ตำบลบ้านใหม่ ตำบลสุรนารี ตำบลหนองจะบก ตำบลไชยมงคล และตำบลโคกกรวด)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสูงเนิน, อำเภอขามทะเลสอ และอำเภอโนนไทย (ยกเว้นตำบลด่านจาก ตำบลกำปัง และตำบลสำโรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโนนสูง, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลช้างทองและตำบลท่าช้าง) และอำเภอพิมาย (เฉพาะตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอบัวลาย และอำเภอสีดา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโนนแดง, อำเภอประทาย, อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอชุมพวง (ยกเว้นตำบลโนนตูมและตำบลตลาดไทร) และอำเภอพิมาย (ยกเว้นตำบลสัมฤทธิ์ ตำบลกระเบื้องใหญ่ ตำบลชีวาน และตำบลท่าหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอชุมพวง (เฉพาะตำบลโนนตูมและตำบลตลาดไทร)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอโชคชัย, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลช้างทองและตำบลท่าช้าง) และอำเภอครบุรี (ยกเว้นตำบลลำเพียก ตำบลโคกกระชาย ตำบลตะแบกบาน ตำบลสระว่านพระยา และตำบลมาบตะโกเอน)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอหนองบุญมาก, อำเภอเสิงสาง และอำเภอครบุรี (เฉพาะตำบลลำเพียก ตำบลโคกกระชาย ตำบลตะแบกบาน ตำบลสระว่านพระยา และตำบลมาบตะโกเอน)
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : อำเภอวังน้ำเขียวและอำเภอปักธงชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : อำเภอสีคิ้วและอำเภอปากช่อง (เฉพาะตำบลวังไทร ตำบลคลองม่วง ตำบลวังกะทะ และตำบลโป่งตาลอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : อำเภอปากช่อง (ยกเว้นตำบลวังไทร ตำบลคลองม่วง ตำบลวังกะทะ และตำบลโป่งตาลอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : อำเภอเทพารักษ์, อำเภอด่านขุนทด และอำเภอพระทองคำ (เฉพาะตำบลมาบกราดและตำบลทัพรั้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 16 : อำเภอคง, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอขามสะแกแสง และอำเภอพระทองคำ (ยกเว้นตำบลทัพรั้งและตำบลมาบกราด)
16 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
พันเอก พระยาเสนาภิมุข (แสง เตมิยาจล)
นายสนิท เจริญรัฐ

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเลื่อน พงษ์โสภณ นายกำปัน ภูมิพาณิชย์
(ศาลสั่งให้เลือกตั้งใหม่)
นายเลื่อน พงษ์โสภณ ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)
พระประสงค์เกษมราษฎร์
(แทนนายกำปัน)
2 ร้อยตรี ปุ่น สิทธิเวทย์ ร้อยโท อู๊ด นิตยสุทธิ์ นายมนตรี วีระแพทย์ ร้อยโท อู๊ด นิตยสุทธิ์
3 นายเอี่ยม สุภาพกุล นายทองคำ คลังอาวุธ นายเอี่ยม สุภาพกุล
4 ร้อยตำรวจเอก เอิบ อินทะกนก

ชุดที่ 5–6; พ.ศ. 2491–2492

[แก้]
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)
พลตรี ไชยยันต์ เกรียงเดชพิชัย
ร้อยโท สัมพันธ์ ขันธะชวนะ (ลาออก)
หลวงระงับประจันตคาม (แทนร้อยโท สัมพันธ์)
นายเลื่อน พงษ์โสภณ (ลาออก)
ร้อยเอก ขุนสุรจิตรจตุรงค์ (แทนนายเลื่อน)
พ.ศ. 2492 นายอนันต์ ขันธะชวนะ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

[แก้]
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายเลื่อน พงษ์โสภณ
2 ร้อยโท อู๊ด นิตยสุทธิ์
3 ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)
4 นายยศ อินทรโกมาลย์สุต
5 นายอารีย์ ตันติเวชกุล

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายยศ อินทรโกมาลย์สุต นายเลื่อน พงษ์โสภณ
นายจรัล กมลเพ็ชร นายจรัล กมลเพ็ชร
นายน้อย ทินราช ร้อยโท สัมพันธ์ ขันธชวนะ
นายคำมูล สุทธิจันทึก พลตรี เนตร เขมะโยธิน
นายอารีย์ ตันติเวชกุล นายอารีย์ ตันติเวชกุล
ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคอิสระ
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายประภาส อินทรกำแหง
2 นายยศ อินทรโกมาลย์สุต
3 นายสุวรรณ ธนกัญญา
4 ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) (เสียชีวิต)
พลโท เฉลิม อินทะกนก (แทนขุนคงฤทธิ์ศึกษากร)
5 นายสว่าง อุณาพรหม
6 นายประยงค์ ชาตะวราหะ
7 นายวิมพ์ วิมลมาศ
8 นายน้อย ทินราช
9 นายสมพล เกยุราพันธุ์

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
      พรรคฟื้นฟูชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ
นายเจริญ เปรมฤทัยรัตน์
นายสุวรรณ ธนกัญญา นายวิชิต ศุขะวิริยะ
2 นายบุญทัน ดอกไธสง นายสุรพล ทิพยรักษ์
นายองอาจ ตั้งสถิตชัย นายองอาจ ตั้งสถิตชัย
นายสนิท วงศ์เบญจรัตน์ นายเปลื้อง พลโยธา
3 ร้อยเอก เต็มศักดิ์ ช่างหล่อ นายยศ อินทรโกมาลย์สุต
พันจ่าเอก ชูศักดิ์ ทาระคำ นายพิเชษฐ์ คิดเห็น
นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
4 นายมงคล สุคนธขจร
นายมนูญ สันติวงศ์ นายจุฬ เทียมรัตน์

ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายประทีป กรีฑาเวช
นายสุเทพ วงศ์กำแหง
นายสกุล ศรีพรหม
2 นายสมบูรณ์ จีระมะกร
นายมงคล สุคนธขจร (เสียชีวิต)
นายจำลอง ครุฑขุนทด (แทนนายมงคล)
นายประสาน ด่านกุล
3 นายสมส่วน ศรีนอก
นางไสว อุณาพรหม
นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
4 นายยศ อินทรโกมาลย์สุต
นายประจวบ ตั้งชัยศักดิ์ (เสียชีวิต)
นายสุนทร ทาซ้าย (แทนนายประจวบ)
นายประจัญ กล้าผจญ

ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ
นายเจริญ เปรมฤทัยรัตน์ (เสียชีวิต)
พันตรี เทอดฤทธิ์ บุญญฤทธิ์ (แทนนายเจริญ)
นายน่วม เศรษฐจันทร
2 นายสมบูรณ์ จีระมะกร
นายประสาน ด่านกุล
นายสำรวย เจตนาดี
3 นายเลิศ หงษ์ภักดี
นายสกุล ศรีพรหม
นายประทีป กรีฑาเวช
4 นายกร ทัพพะรังสี
นายลำพอง พิลาสมบัติ
5 นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
นายประจัญ กล้าผจญ

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคเอกภาพ
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ นายเทวัญ ลิปตพัลลภ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
พันตรี เทอดฤทธิ์ บุญญฤทธิ์ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ
นายบุญถึง ผลพานิชย์ พันตรี เทอดฤทธิ์ บุญญฤทธิ์ นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
2 นายสนั่น พยัคฆกุล พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ
นายประสาน ด่านกุล นายประสาน ด่านกุล พลเอก ปัญญา สิงห์ศักดา นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
นายสมบูรณ์ จีระมะกร นายจำลอง ครุฑขุนทด นายจำลอง ครุฑขุนทด นายจำลอง ครุฑขุนทด
3 นายสกุล ศรีพรหม นายกฤษฎาง แถวโสภา
ว่าที่ร้อยตรี วิชัย จิตรพิทักษ์เลิศ นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี
นายเลิศ หงษ์ภักดี นายประทีป กรีฑาเวช พลตำรวจตรีวุฒิ สุโกศล พลตำรวจตรีวุฒิ สุโกศล
4 นายกร ทัพพะรังสี นายกร ทัพพะรังสี
นายวิรัช รัตนเศรษฐ
นายมานะศักดิ์ อินทรโกมาลย์สุต นายลำพอง พิลาสมบัติ นายลำพอง พิลาสมบัติ
5 นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์
นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ นายตรีเพชร พรหมนิติพันธุ์
นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ นางศรีสกุล เตชะไพบูลย์ นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติไทย
      พรรคนำไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล นายประวิช รัตนเพียร
2 พลตำรวจตรีวุฒิ สุโกศล
นายสกุล ศรีพรหม นายสกุล ศรีพรหม
ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี นายกฤษฎาง แถวโสภา
3 นายกร ทัพพะรังสี
นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
นายลำพอง พิลาสมบัติ นายวิรัช รัตนเศรษฐ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
4 นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ นายประทีป กรีฑาเวช
นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์
5 นายจำลอง ครุฑขุนทด
นายรักษ์ ด่านกุล
6 นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม
พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคมหาชน
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544[3] ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548[4]
1 นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
( / เลือกตั้งใหม่)
นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
2 นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
3 นายประวิช รัตนเพียร นายประเสริฐ บุญชัยสุข
4 นายประทีป กรีฑาเวช นายอุทัย มิ่งขวัญ
5 นางพิชญ์สินี มุ่งฝากกลาง นางทัศนียา รัตนเศรษฐ
6 นายวัชรา ณ วังขนาย
( / เลือกตั้งใหม่)
นายวัชรา ณ วังขนาย
7 นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
( / เลือกตั้งใหม่)
นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
8 ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
9 นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายสมศักดิ์ โสมกลาง
10 นายสุพร อัตถาวงศ์
( / เลือกตั้งใหม่)
ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี
11 นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
12 พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ นายสุพร อัตถาวงศ์
13 นายประเสริฐ จันทรรวงทอง นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม
14 นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ
( / เลือกตั้งใหม่)
พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ
15 นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
16 นายสมศักดิ์ โสมกลาง นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
17 นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
( / เลือกตั้งใหม่)
ยุบเขต 17

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550[5][6]
1 นายวัชรพล โตมรศักดิ์
นายประเสริฐ บุญชัยสุข
นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
2 นายประนอม โพธิ์คำ
นางจิตรวรรณ หวังศุภกิจโกศล
พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ
3 นายบุญเลิศ ครุฑขุนทด ( / เลือกตั้งใหม่)
นางลินดา เชิดชัย ( / เลือกตั้งใหม่)
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ( / เลือกตั้งใหม่)
4 นางทัศนียา รัตนเศรษฐ
ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี
นายอนุวัฒน์ วิเศษจินดาวัฒน์
5 นายภิรมย์ พลวิเศษ
นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ
6 นายมีชัย จิตต์พิพัฒน์
นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
(แทนนายมีชัย/พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล[7] / เลือกตั้งใหม่)
นายพลพีร์ สุวรรณฉวี ( / เลือกตั้งใหม่)

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

[แก้]
      พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน → พรรคชาติพัฒนา
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐพรรคภูมิใจไทย
      พรรคชาติพัฒนา → พรรคชาติพัฒนากล้า
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล นายเกษม ศุภรานนท์
2 นายวัชรพล โตมรศักดิ์ นายวัชรพล โตมรศักดิ์
3 นายประเสริฐ บุญชัยสุข นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
4 นางทัศนียา รัตนเศรษฐ นายทวิรัฐ รัตนเศรษฐ
5 นายโกศล ปัทมะ
6 นายสุชาติ ภิญโญ นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ
7 นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ นางทัศนียา รัตนเศรษฐ
8 นายจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร นางทัศนาพร เกษเมธีการุณ
9 นายพลพีร์ สุวรรณฉวี นายอภิชา เลิศพชรกมล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
10 นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ นายพรชัย อำนวยทรัพย์
11 นายสัมภาษณ์ อัตถาวงศ์ นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม
12 นายประนอม โพธิ์คำ นายศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ
13 นายศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
14 นายประเสริฐ จันทรรวงทอง นายสุชาติ ภิญโญ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
15 นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ ยุบเขต 15

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

[แก้]
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายฉัตร สุภัทรวณิชย์
2 นายปิยชาติ รุจิพรวศิน
3 นายศุทธสิทธิ์ พจน์ฐศักดิ์
4 นางสาวณัฐจิรา อิ่มวิเศษ
5 นายสมเกียรติ ตันดิลกตระกูล
6 นายโกศล ปัทมะ
7 นางสาวปิยะนุช ยินดีสุข
8 นายนิกร โสมกลาง
9 นายพลพีร์ สุวรรณฉวี
10 นายอภิชา เลิศพชรกมล
11 นายอาทิตย์ หวังศุภกิจโกศล
12 นายนรเสฎฐ์ ศิริโรจนกุล
13 นายพชร จันทรรวงทอง
14 นายศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ
15 นายรชตะ ด่านกุล
16 นายพรเทพ ศิริโรจนกุล

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง (ครั้งที่ ๔),เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๐ ก, ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๒๔
  7. ไทยรัฐออนไลน์ (3 พฤศจิกายน 2553). "6ส.ส.พ้นสภาพ ศาลตัดสิทธิ์ ถือครองหุ้นผิด". thairath. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]