สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | อาคารรัฐสภาไทย | ||||
วาระ | 6 มกราคม พ.ศ. 2544 – 5 มกราคม พ.ศ. 2548 | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีทักษิณ 1 | ||||
ฝ่ายค้าน | พรรคประชาธิปัตย์ | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
![]() | |||||
สมาชิก | 500 | ||||
ประธาน | อุทัย พิมพ์ใจชน | ||||
รองประธานคนที่ 1 | สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล | ||||
รองประธานคนที่ 2 | บุญชง วีสมหมาย ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 สุชาติ ตันเจริญ ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2545 | ||||
นายกรัฐมนตรี | ทักษิณ ชินวัตร | ||||
ผู้นำฝ่ายค้าน | ชวน หลีกภัย ตั้งแต่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2544 บัญญัติ บรรทัดฐาน ตั้งแต่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 | ||||
พรรคครอง | พรรคไทยรักไทย |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรคและภาค[แก้]
![]() |
![]() |
![]() | |||||||
พรรค | บัญชีรายชื่อ | แบ่งเขต | รวม | ||||||
กรุงเทพ | กลาง | เหนือ | อีสาน | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | |||
ไทยรักไทย | 60 | 28 | 55 | 35 | 121 | 6 | 14 | 7 | 326 |
ประชาธิปัตย์ | 32 | 9 | 15 | 5 | 5 | 48 | 4 | 12 | 130 |
ชาติไทย | 6 | - | 16 | - | 10 | - | 7 | - | 39 |
มหาชน | - | - | 1 | - | 1 | - | - | - | 2 |
ความหวังใหม่ | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
มวลชน | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
กิจสังคม | - | - | - | - | 1 | - | - | - | 1 |
รวม | 100 | 37 | 87 | 40 | 138 | 54 | 25 | 19 | 500 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]
ได้รับการเลือกตั้ง | ![]() ![]() | ||
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง |
มีรายนามดังนี้[1]
พรรคไทยรักไทย (48)[แก้]
- หมายเหตุ
- 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ได้รับเลื่อนแทน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
- ผู้สมัครแบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 50-71 ได้รับเลื่อนแทนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เข้าดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี และพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2544 (ยกเว้นนายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี ผู้สมัครลำดับที่ 68 ที่เข้าดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีเช่นกัน)
- 22 สิงหาคม พ.ศ. 2544 นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ ได้รับเลื่อนแทนนายประยุทธ มหากิจศิริ ซึ่งถูกตัดสินตัดสิทธิทางการเมือง 5 ปี
- 24 กันยายน พ.ศ. 2544 นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ได้รับเลื่อนแทนนายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2544
- 10 ตุลาคม พ.ศ. 2545 พันตำรวจเอกปรีดี เจริญศิลป์ ได้รับเลื่อนแทนนายประมวล รุจนเสรี ซึ่งได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
- 16 ตุลาคม พ.ศ. 2545 นายสถาพร มณีรัตน์ ได้รับเลื่อนแทนนายกันตธีร์ ศุภมงคล ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2545
- 3 เมษายน พ.ศ. 2546 นายภาคิน สมมิตร ได้รับเลื่อนแทนนายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2546
- 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ได้รับเลื่อนแทนพลเอกเชษฐา ฐานะจาโร ซึ่งได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 นายรักษ์ ด่านกูล ได้รับเลื่อนแทนนายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ซึ่งได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
- 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 นายอารักษ์ ไชยริปู ได้รับเลื่อนแทนวีระชัย วีระเมธีกุล ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546
- 3 มีนาคม พ.ศ. 2547 นายมงคล สิมะโรจน์ ได้รับเลื่อนแทนนายเสริมศักดิ์ การุญ ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2547
- 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 นายสมพงษ์ หิริกุล ได้รับเลื่อนแทนนายการุญ จันทรางศุ ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
- 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 นายชูศักดิ์ ศิรินิล ได้รับเลื่อนแทนนายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
- 1 กันยายน พ.ศ. 2547 พลตำรวจโทสรรเพชญ ธรรมาธิกุล ได้รับเลื่อนแทนนายชูศักดิ์ แอกทอง ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547
พรรคประชาธิปัตย์ (31)[แก้]
พรรคความหวังใหม่ (8)[แก้]
# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ | รองนายกรัฐมนตรี และรมว.กระทรวงกลาโหม |
2 | ![]() |
วันมูหะมัดนอร์ มะทา | รมว. กระทรวงคมนาคม |
3 | ![]() |
สุขวิช รังสิตพล | |
4 | ![]() |
ร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง | |
5 | ![]() |
ชิงชัย มงคลธรรม | |
6 | ![]() |
นิมิตร นนทพันธาวาทย์ | |
7 | ![]() |
พิเชษฐ สถิรชวาล | รมช. กระทรวงอุตสาหกรรม |
8 | ![]() |
สุลัยมาลย์ วงศ์พานิช | |
9 | ![]() |
สมศักดิ์ วรคามิน | |
10 | ![]() |
ลิขิต ธีรเวคิน | |
12 | ![]() |
พันโทหญิงฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล | ข้ามลำดับที่ 11 |
- หมายเหตุ
ปี พ.ศ. 2545 พรรคความหวังใหม่ ยุบรวมกับพรรคไทยรักไทย แต่ยังคงมีสมาชิกพรรคบางส่วนไม่เห็นด้วย จึงยังคงรักษาพรรคไว้ โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ย้ายไปสังกัดพรรคต่างๆ ดังนี้
- สังกัดพรรคไทยรักไทย
- สังกัดพรรคความหวังใหม่เช่นเดิม
- สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
- พันโทหญิงฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล
- สังกัดพรรคมวลชน
- ร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง
พรรคชาติพัฒนา (7)[แก้]
# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
กร ทัพพะรังสี | รองนายกรัฐมนตรี |
2 | ![]() |
สุวัจน์ ลิปตพัลลภ | รมต. สำนักนายกรัฐมนตรี |
3 | ![]() |
พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก | รมช. กระทรวงสาธารณสุข |
4 | ![]() |
ปวีณา หงสกุล | ลาออก 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 |
5 | ![]() |
พันเอกวินัย สมพงษ์ | |
6 | ![]() |
กรพจน์ อัศวินวิจิตร | ลาออก 11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 |
7 | ![]() |
ร้อยตรีประพาส ลิมปะพันธุ์ | ลาออก 14 มีนาคม พ.ศ. 2546 |
8 | ![]() |
สุภาพ คลี่ขจาย | |
9 | ![]() |
ปานปรีย์ พหิทธานุกร | ลาออก 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 |
10 | ![]() |
นงค์นาถ เตชะไพบูลย์ | ลาออก 5 สิงหาคม พ.ศ. 2546 |
11 | ![]() |
สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ | |
14 | ![]() |
ธนกร นันที | ข้ามลำดับที่ 12-13 |
15 | ![]() |
มหรรณพ เดชวิทักษ์ | |
16 | ![]() |
อัญชลี บุสสุวัณโณ | |
17 | ![]() |
บรรจง พงศ์ศาสตร์ |
- หมายเหตุ
ปี พ.ศ. 2547 พรรคชาติพัฒนา ยุบรวมกับพรรคไทยรักไทย
พรรคชาติไทย (6)[แก้]
# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี | |
2 | ![]() |
พลเอกวิโรจน์ แสงสนิท | |
3 | ![]() |
เดช บุญ-หลง | รองนายกรัฐมนตรีฯ |
4 | ![]() |
สนธยา คุณปลื้ม | รมว. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ |
5 | ![]() |
กอบศักดิ์ ชุติกุล | ลาออก 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 |
6 | ![]() |
จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ | |
7 | ![]() |
ชูวงศ์ ฉายะบุตร | |
8 | ![]() |
ชัย ชิดชอบ | |
9 | ![]() |
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน มีรายนามดังนี้[8][9][10]
กรุงเทพ[แก้]
ภาคกลาง[แก้]
ภาคเหนือ[แก้]
ภาคอีสาน[แก้]
ภาคใต้[แก้]
ภาคตะวันออก[แก้]
ภาคตะวันตก[แก้]
จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาญจนบุรี | 1 | นาวาโทเดชา สุขารมณ์ | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|
![]() |
เลือกตั้งใหม่ | ||||
2 | สันทัด จีนาภักดิ์ | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
||
3 | เรวัต สิรินุกุล | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
![]() |
เลือกตั้งใหม่ | ||||
4 | ไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
![]() |
เลือกตั้งใหม่ | ||||
5 | ประชา โพธิพิพิธ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
![]() |
เลือกตั้งใหม่ | ||||
พลตรีศรชัย มนตริวัต | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2544[13] / ย้ายมาจากพรรคความหวังใหม่ | ||
ตาก | 1 | ธนญ ตันติสุนทร | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|
2 | ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
3 | ธนิตพล ไชยนันทน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
ประจวบคีรีขันธ์ | 1 | มนตรี ปาน้อยนนท์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|
2 | เฉลิมชัย ศรีอ่อน | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
3 | ร้อยตำรวจเอกพเยาว์ พูลธรัตน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
เพชรบุรี | 1 | อลงกรณ์ พลบุตร | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|
2 | ธานี ยี่สาร | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
||
3 | อภิชาติ สุภาแพ่ง | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
ราชบุรี | 1 | กอบกุล นพอมรบดี | พรรคชาติพัฒนา | ![]() |
|
พรรคไทยรักไทย | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ / ย้ายมาจากพรรคชาติพัฒนา | |||
2 | วิวัฒน์ นิติกาญจนา | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
||
3 | ประไพพรรณ เส็งประเสริฐ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
4 | วิจัย วัฒนาประสิทธิ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
5 | บุญลือ ประเสริฐโสภา | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
คณะกรรมาธิการ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ฉายารัฐสภา[แก้]
ตำแหน่ง | พ.ศ.2544[14] | พ.ศ.2545 | พ.ศ.2547[15] |
---|---|---|---|
ดาวเด่น | ศิริโชค โสภา | ตรีพล เจาะจิตต์ | |
ดาวดับ | เฉลิม อยู่บำรุง | ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ | |
ฉายาสภาผู้แทนราษฎร | สภาอาชีพเสริม | สภาทักษิโณ | สภา ฮั้ว-ฮุบ |
ฉายาวุฒิสภา | สภาจับฉ่าย | สภาเป็ด - สามก๊ก | สภาโจ๊ก |
ประธานสภาผู้แทนราษฎร | ดับเบิ้ลสแตนดาร์ด | นินจารับจ๊อบ | |
ประธานวุฒิสภา | จอมพลหลงสภา | ม้าเหล็กตกราง | |
ผู้นำฝ่ายค้าน | มีดโกนวัยทอง | แผ่นเสียงตกร่อง | |
เหตุการณ์แห่งปี | การท้าชกข้ามสภาระหว่าง สว. และ สส. | เหตุการณ์ชิงไหวชิงพริบในการเสนอ ร่างกฎหมายปฏิรูประบบราชการ | |
คู่กัดแห่งปี | ชวน หลีกภัย และ ทักษิณ ชินวัตร |
สุวโรช พะลัง และ ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ | |
วาทะแห่งปี | "จำนวนไม่สำคัญ ขึ้นอยู่กับสามัญสำนึก" (อุทัย พิมพ์ใจชน) |
"ระวังไม่มีแผ่นดินจะอยู่" (ทักษิณ ชินวัตร) |
"โจรกระจอก" (ทักษิณ ชินวัตร) |
คนดีศรีสภา | มนตรี สินทวิชัย | จอน อึ๊งภากรณ์ |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เก็บถาวร 2022-05-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "ประกาศการแต่งตั้งผู้แทน" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-04-25. สืบค้นเมื่อ 2021-04-25.
- ↑ ประกาศการแต่งตั้งผู้แทน
- ↑ ประกาศการแต่งตั้งผู้แทน
- ↑ ประกาศการแต่งตั้งผู้แทน
- ↑ ประกาศการแต่งตั้งผู้แทน
- ↑ ประกาศการแต่งตั้งผู้แทน
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (1)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2012-02-14.
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (2)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2012-02-14.
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (3)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2012-02-14.
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่าง" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-18. สืบค้นเมื่อ 2012-03-07.
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เขตเลือกตั้งที่ 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง (นายจุติ ไกรฤกษ์)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2012-03-14.
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-04-10. สืบค้นเมื่อ 2012-03-07.
- ↑ "ชื่อ ฉายา และสมญานามทางการเมืองไทย พ.ศ. 2475-2545 บันทึกใน OneDrive". onedrive.live.com.
{{cite web}}
: line feed character ใน|title=
ที่ตำแหน่ง 50 (help) - ↑ "บันทึก ณ วันที่สภา ฯ ครบเทอม". mgronline.com. 2005-01-04.