สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||
ภาพรวม | |||||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||||
วาระ | 24 มีนาคม 2562[a] – | ||||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 | ||||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2 | ||||||
ฝ่ายค้าน | พรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมฝ่ายค้านอีก 6 พรรค | ||||||
![]() | |||||||
สมาชิก | 488 | ||||||
ประธาน | ชวน หลีกภัย (ประชาธิปัตย์) | ||||||
รองประธานคนที่ 1 | สุชาติ ตันเจริญ (พลังประชารัฐ) | ||||||
รองประธานคนที่ 2 | ศุภชัย โพธิ์สุ (ภูมิใจไทย) | ||||||
นายกรัฐมนตรี | พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | ||||||
ผู้นำฝ่ายค้าน | สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (เพื่อไทย) | ||||||
พรรคครอง | รัฐบาลผสมพรรคพลังประชารัฐและพรรคร่วมรัฐบาลอีก 21 พรรค | ||||||
สมัยประชุม | |||||||
| |||||||
สมัยประชุมวิสามัญ | |||||||
|
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 (พ.ศ. 2562–ปัจจุบัน) เป็นสภาล่างของรัฐสภาหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยสมาชิก (ส.ส.) 500 คน 350 คนเป็นผู้แทนเขตเลือกตั้งทั้ง 350 เขตตามระบบจัดสรรปันส่วนผสม ซึ่งลดจำนวนลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และอีก 150 คนมาจากระบบบัญชีรายชื่อที่ใช้สูตรที่นั่งปรับระดับ (leveling seat) ในบรรดา ส.ส. ที่ได้รับเลือกตั้ง มีถึง 250 คนที่ไม่เคยได้รับเลือกตั้งมาก่อน และสภาฯ ชุดนี้ยังมีพรรคการเมือง 25 พรรค ซึ่งนับว่ามากที่สุดเป็นประวัติการณ์
มีรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ประยุทธ์ จันทร์โอชาได้รับมติเลือกให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ โดยได้รับการสนับสุนนจากพรรคการเมือง 19 พรรค ทีแรกสื่อคาดกันว่ารัฐบาลผสมดังกล่าวจะมีความอ่อนแอเพราะมีคะแนนเสียงห่างจากพรรคร่วมฝ่ายค้านไม่มากนัก และมีโอกาสล้มได้หากแพ้เสียงในกฎหมายสำคัญ อย่างไรก็ตาม สมาชิกของ ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากมี ส.ส. พรรคร่วมฝ่ายค้านหลายคนหันไปเข้ากับฝ่ายรัฐบาลแทน
เหตุการณ์สำคัญ[แก้]
- 5 มิถุนายน 2562: สภาผู้แทนราษฎร (ร่วมกับวุฒิสภา) ลงมติเลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีต่อ
- 21 กุมภาพันธ์ 2563: ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่
- 24–28 กุมภาพันธ์ 2563: การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี
- 24 กันยายน 2563: รัฐสภาลงมติตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญก่อนรับหลักการ อันเป็นผลให้เลื่อนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญออกไปอย่างน้อย 1 เดือน[1]
- 26–27 ตุลาคม 2563: สมัยประชุมวิสามัญเนื่องจากการประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563
กฎหมายสำคัญ[แก้]
ผ่านสภาผู้แทนราษฎร[แก้]
- 13 กุมภาพันธ์ 2563: ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
- 31 พฤษภาคม 2563: พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563
- 31 พฤษภาคม 2563: พระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563
- 31 พฤษภาคม 2563: พระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. 2563
- 18 มิถุนายน 2563: ร่างพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2563
- 18 กันยายน 2563: ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ร่างกฎหมาย[แก้]
- ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย
องค์ประกอบของสภา[แก้]
พรรค | การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |||||||||||
24 พฤษภาคม 2562 | 29 พฤษภาคม 2562[b] | 6 กันยายน 2562[c] | 23 ตุลาคม 2562[d] | 22 ธันวาคม 2562[e] | 8 มกราคม 2563[f] | 28 มกราคม 2563[g] | 21 กุมภาพันธ์ 2563[h] | 4 มีนาคม 2563[i] | 21 มีนาคม 2563 | 20 มิถุนายน 2563[j] | 21 กรกฎาคม 2563[k] | |
เพื่อไทย | 136 | 136 | 136 | 136 | 135 | 135 | 135 | 135 | 135 | 135 | 134 | 134 |
พลังประชารัฐ | 115 | 116 | 117 | 117 | 118 | 119 | 119 | 119 | 119 | 119 | 120 | 121 |
ภูมิใจไทย | 51 | 51 | 51 | 51 | 51 | 52 | 52 | 52 | 61 | 61 | 61 | 61 |
ก้าวไกล | — | — | — | — | — | — | — | — | — | 54 | 54 | 54 |
ประชาธิปัตย์ | 52 | 53 | 53 | 53 | 53 | 53 | 52 | 52 | 52 | 52 | 52 | 52 |
ชาติไทยพัฒนา | 10 | 10 | 10 | 11 | 11 | 11 | 11 | 11 | 11 | 12 | 12 | 12 |
เสรีรวมไทย | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 | 10 |
ประชาชาติ | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 | 7 |
เศรษฐกิจใหม่ | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 | 6 |
เพื่อชาติ | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 |
รวมพลังประชาชาติไทย | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 |
พลังท้องถิ่นไท | 3 | 3 | 3 | 3 | 3 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 | 5 |
ชาติพัฒนา | 3 | 3 | 3 | 3 | 3 | 3 | 3 | 3 | 3 | 4 | 4 | 4 |
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 | 2 |
พลังปวงชนไทย | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
พลังชาติไทย | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
ประชาภิวัฒน์ | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
ไทยศรีวิไลย์ | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
พลังไทยรักไทย | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
ครูไทยเพื่อประชาชน | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
ประชาธรรมไทย | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
พลเมืองไทย | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
ประชาธิปไตยใหม่ | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
พลังธรรมใหม่ | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
ไทรักธรรม | 1 | — | — | — | — | — | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 |
อนาคตใหม่ | 80 | 81[l] | 81 | 80 | 76 | 76 | 76 | — | — | — | — | — |
ประชาชนปฏิรูป | 1 | 1 | — | — | — | — | — | — | — | — | — | — |
ประชานิยม | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | — |
ไม่สังกัดพรรค | — | — | — | — | 4 | — | — | 65 | 56 | — | — | — |
รวม | 498 | 500 | 500 | 500 | 500 | 500 | 500 | 489 | 489 | 489 | 489 | 489 |
ว่าง | 2 | — | — | — | — | — | — | 11 | 11 | 11 | 11 | 11 |
หมายเหตุ:
- ภาระทางการเมืองและกฎหมายของรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ มีดังนี้[2]
- ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ต้องใช้เสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับวุฒิสภา (อย่างน้อย 376 เสียง)
- ลงมติแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องใช้เสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับวุฒิสภา (อย่างน้อย 376 เสียง) โดยสมาชิกวุฒิสภาต้องเห็นชอบไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 (อย่างน้อย 84 เสียง)
- ลงมติผ่านร่างกฎหมาย ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
- ลงมติผ่านงบประมาณ ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
- ลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
ความคืบหน้าของฝ่ายข้างมากรัฐบาล[แก้]
วันที่ | เหตุการณ์ | ฝ่ายข้างมากรัฐบาล | พปชร. | ปชป. | ภท. | ชทพ. | รปช. | ชพ. | พทท. | ศม. | รป. | พรรคเล็ก | รวมรัฐบาล | พท. | อนค. | กก. | สร. | ปช. | พพช. | พลท. | รวมฝ่ายค้าน | ศม. | ไม่ระบุฝ่าย | ว่าง |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
24 พฤษภาคม 2562 | เปิดรัฐสภา | 7 | 115 | 52 | 51 | 10 | 5 | 3 | 3 | - | 2 | 11 | 252 | 136 | 80 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 245 | 6 | 0 | 2 |
29 พฤษภาคม 2562 | เลือกตั้งซ่อมเชียงใหม่ เขต 8 | 7 | 116 | 53 | 51 | 10 | 5 | 3 | 3 | - | 2 | 10 | 253 | 136 | 81 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 246 | 6 | 0 | 0 |
23 ตุลาคม 2562 | เลือกตั้งซ่อมนครปฐม เขต 5 | 10 | 117 | 53 | 51 | 11 | 5 | 3 | 3 | - | 2 | 10 | 255 | 136 | 80 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 245 | 6 | 0 | 0 |
13 พฤศจิกายน 2562 | คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญให้ ส.ส. พรรคเพื่อไทยพ้นจากตำแหน่ง 1 คน[3] | 11 | 117 | 53 | 51 | 11 | 5 | 3 | 3 | - | 2 | 10 | 255 | 135 | 80 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 244 | 6 | 0 | 1 |
16 ธันวาคม 2562 | พรรคอนาคตใหม่มีมติขับ ส.ส. 4 คน[4] | 15 | 117 | 53 | 51 | 11 | 5 | 3 | 3 | - | 2 | 10 | 255 | 135 | 76 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 240 | 6 | 4 | 1 |
22 ธันวาคม 2562 | เลือกตั้งซ่อมขอนแก่น เขต 7 | 16 | 118 | 53 | 51 | 11 | 5 | 3 | 3 | - | 2 | 10 | 256 | 135 | 76 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 240 | 6 | 4 | 0 |
8 มกราคม 2563 | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ มีสังกัดใหม่ครบทั้ง 4 คน | 20 | 119 | 53 | 52 | 11 | 5 | 3 | 5 | - | 2 | 10 | 260 | 135 | 76 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 240 | 6 | 0 | 0 |
28 มกราคม 2563 | กกต.ปรับสูตรคำนวณสส.บัญชีรายชื่อใหม่ หลังคำสั่งศาลฎีกาถอดถอนสิทธิรับสมัครของ ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ 1 คน[m] | 20 | 119 | 52 | 52 | 11 | 5 | 3 | 5 | - | 2 | 11 | 260 | 135 | 76 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 240 | 6 | 0 | 0 |
3 กุมภาพันธ์ 2563 | มติคณะกรรมการบริหารพรรคเศรษฐกิจใหม่ออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน [5]แต่มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ แถลงข่าวยังอยู่ในฝ่ายค้าน และขอแยกทางกับพรรค[6] | 30 | 119 | 52 | 52 | 11 | 5 | 3 | 5 | - | 2 | 11 | 265 | 135 | 76 | - | 10 | 7 | 5 | 1 | 235[n] | 6 | 0 | 0 |
14 มีนาคม 2563 | ส.ส. ที่เคยสังกัดพรรคอนาคตใหม่ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกล,พรรคภูมิใจไทย,พรรคชาติไทยพัฒนา[7]และพรรคชาติพัฒนา [8] | 58 | 119 | 52 | 61 | 12 | 5 | 4 | 5 | - | 2 | 11 | 271 | 135 | - | 54 | 10 | 7 | 5 | 1 | 213 | 6 | 0 | 11 |
25 พฤษภาคม 2563 | พรรคเศรษฐกิจใหม่เข้าร่วมรัฐบาล[9] ยกเว้นมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ | 63 | 119 | 52 | 61 | 12 | 5 | 4 | 5 | 5 | 2 | 11 | 276 | 135 | - | 54 | 10 | 7 | 5 | 1 | 213 | 0 | 0 | 11 |
20 มิถุนายน 2563 | เลือกตั้งซ่อมลำปาง เขต 4 | 64 | 120 | 52 | 61 | 12 | 5 | 4 | 5 | 5 | 2 | 11 | 277 | 134 | - | 54 | 10 | 7 | 5 | 1 | 212 | 0 | 0 | 11 |
28 ตุลาคม 2563 | คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญให้ ส.ส. พรรคก้าวไกลพ้นจากตำแหน่ง 1 คน | 64 | 120 | 52 | 61 | 12 | 5 | 4 | 5 | 5 | 2 | 11 | 277 | 134 | - | 53 | 10 | 7 | 5 | 1 | 211 | 0 | 0 | 11 |
- รัฐบาลผสมฝ่ายค้าน
รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]
ได้รับการเลือกตั้ง | ![]() ![]() | ||
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง |
มีรายชื่อดังนี้[10]
พรรคก้าวไกล (35)[แก้]
พรรคพลังประชารัฐ (21)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ | |
2 | ![]() |
สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ | |
3 | ![]() |
พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ | |
4 | ![]() |
สมศักดิ์ เทพสุทิน | |
5 | ![]() |
นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ | ลาออก 29 กรกฎาคม 2562[11] |
6 | ![]() |
สันติ กีระนันทน์ | |
7 | ![]() |
วิรัช รัตนเศรษฐ | |
8 | ![]() |
สันติ พร้อมพัฒน์ | |
9 | ![]() |
สุพล ฟองงาม | |
10 | ![]() |
ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ | |
11 | ![]() |
เอกราช ช่างเหลา | |
12 | ![]() |
พิชชารัตน์ เลาหพงศ์ชนะ | |
13 | ![]() |
บุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ | |
14 | ![]() |
สุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ | |
15 | ![]() |
สุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์ | |
16 | ![]() |
พงศ์กวิน จึงรุ่งเรืองกิจ | |
17 | ![]() |
วิเชียร ชวลิต | |
18 | ![]() |
อรรถกร ศิริลัทธยากร | |
19 | ![]() |
วทันยา วงษ์โอภาสี | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562 |
20 | ![]() |
พรชัย ตระกูลวรานนท์ | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 30 กรกฎาคม 2562 [12] |
- | ![]() |
ไพบูลย์ นิติตะวัน | ย้ายมาจากพรรคประชาชนปฏิรูป[13][14][o] |
- | ![]() |
พลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ | ย้ายมาจากพรรคประชานิยม |
พรรคประชาธิปัตย์ (19)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | ลาออก 5 มิถุนายน 2562 |
2 | ![]() |
ชวน หลีกภัย | |
3 | ![]() |
บัญญัติ บรรทัดฐาน | |
4 | ![]() |
เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ | |
5 | ![]() |
คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช | ลาออก 8 สิงหาคม 2562 |
6 | ![]() |
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ | |
7 | ![]() |
กรณ์ จาติกวณิช | ลาออก 15 มกราคม 2563 |
8 | ![]() |
จุติ ไกรฤกษ์ | ลาออก 13 กันยายน 2562[15] |
9 | ![]() |
องอาจ คล้ามไพบูลย์ | |
10 | ![]() |
ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู | |
11 | ![]() |
อิสสระ สมชัย | |
12 | ![]() |
อัศวิน วิภูศิริ | |
13 | ![]() |
เกียรติ สิทธีอมร | |
14 | ![]() |
กนก วงษ์ตระหง่าน | |
15 | ![]() |
ศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ | |
16 | ![]() |
พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค | ลาออก 9 ธันวาคม 2562 |
17 | ![]() |
พนิต วิกิตเศรษฐ์ | |
18 | ![]() |
อภิชัย เตชะอุบล | |
19 | ![]() |
วีระชัย วีระเมธีกุล | |
20 | ![]() |
จิตภัสร์ กฤดากร[16] | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562 |
21 | ![]() |
สุทัศน์ เงินหมื่น[17] | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 มิถุนายน 2562 |
22 | ![]() |
พิสิฐ ลี้อาธรรม | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 9 สิงหาคม 2562[18] |
23 | ![]() |
อิสระ เสรีวัฒนวุฒิ | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 กันยายน 2562 [19] |
24 | ![]() |
พิมพ์รพี พันธุ์วิชาติกุล | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 ธันวาคม 2562[20] |
- | ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง | ข้าม (ลาออกจากพรรค) | |
26 | ![]() |
จักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์ | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 16 มกราคม 2563,[21] ยุติการปฏิบัติหน้าที่ 28 มกราคม 2563[22] |
พรรคภูมิใจไทย (14)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
อนุทิน ชาญวีรกูล | |
2 | ![]() |
ชัย ชิดชอบ | ถึงแก่อนิจกรรม 24 มกราคม 2563 |
3 | ![]() |
ศักดิ์สยาม ชิดชอบ | |
4 | ![]() |
นาที รัชกิจประการ | ถูกศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีคำวินิจฉัยชั้นอุทธรณ์ถึงที่สุดให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง / พ้นจากตำแหน่ง |
5 | ![]() |
สรอรรถ กลิ่นประทุม | |
6 | ![]() |
ทรงศักดิ์ ทองศรี | ลาออก 23 กรกฎาคม 2562 |
7 | ![]() |
วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล | ลาออก 23 กรกฎาคม 2562 |
8 | ![]() |
ศุภมาส อิศรภักดี | |
9 | ![]() |
กรวีร์ ปริศนานันทกุล | |
10 | ![]() |
ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ | |
11 | ![]() |
เพชรดาว โต๊ะมีนา | |
12 | ![]() |
ศุภชัย ใจสมุทร | |
13 | ![]() |
พันเอก เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 กรกฎาคม 2562[23] |
14 | ![]() |
มารุต มัสยวาณิช | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 กรกฎาคม 2562[24] |
15 | ![]() |
สวาป เผ่าประทาน | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 27 มกราคม 2563[25] |
16 | ![]() |
กนกวรรณ วิลาวัลย์ | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 สิงหาคม 2563[26] ลาออก 2 กันยายน 2563[27] |
17 | ![]() |
สุชาติ โชคชัยวัฒนากร | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กันยายน 2563[28] |
- | ![]() |
วิรัช พันธุมะผล | ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ |
- | ![]() |
สำลี รักสุทธี | ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ |
พรรคเสรีรวมไทย (10)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส | |
2 | ![]() |
วัชรา ณ วังขนาย | |
3 | ![]() |
วิรัตน์ วรศสิริน | |
4 | ![]() |
เรวัต วิศรุตเวช | |
5 | ![]() |
ประสงค์ บูรณ์พงศ์ | |
6 | ![]() |
นภาพร เพ็ชร์จินดา | |
7 | ![]() |
เพชร เอกกำลังกุล | |
8 | ![]() |
ธนพร โสมทองแดง | |
9 | ![]() |
อำไพ กองมณี | |
10 | ![]() |
พลตำรวจโท วิศณุ ม่วงแพรสี |
พรรคเศรษฐกิจใหม่ (6)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ | |
2 | ![]() |
สุภดิช อากาศฤกษ์ | |
3 | ![]() |
นิยม วิวรรธนดิฐกุล | |
4 | ![]() |
ภาสกร เงินเจริญกุล | |
5 | ![]() |
มนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ | |
6 | ![]() |
มารศรี ขจรเรืองโรจน์ |
พรรคเพื่อชาติ (5)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ | |
2 | ![]() |
ปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช | |
3 | ![]() |
อารี ไกรนรา | |
4 | ![]() |
เพชรวรรต วัฒนพงศศิริกุล | |
5 | ![]() |
ลินดา เชิดชัย |
พรรคชาติไทยพัฒนา (5)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
วราวุธ ศิลปอาชา | |
2 | ![]() |
ธีระ วงศ์สมุทร | |
3 | ![]() |
นิกร จำนง | |
4 | ![]() |
นพดล มาตรศรี | |
- | ![]() |
จุลพันธ์ โนนศรีชัย | ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ |
พรรครวมพลังประชาชาติไทย (4)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล | ลาออก 31 กรกฎาคม 2562[29] |
2 | ![]() |
เพชรชมพู กิจบูรณะ | |
3 | ![]() |
เขตรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ | |
4 | ![]() |
อนุสรี ทับสุวรรณ | |
5 | ![]() |
ทวีศักดิ์ ณ ตะกั่วทุ่ง | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 31 กรกฎาคม 2562[29] ลาออก 2 สิงหาคม 2562[30] |
6 | ![]() |
จุฑาฑัตต เหล่าธรรมทัศน์ | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 สิงหาคม 2562[31] |
พรรคพลังท้องถิ่นไท (3)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
ชัชวาลล์ คงอุดม | |
2 | ![]() |
โกวิทย์ พวงงาม | |
3 | ![]() |
นพดล แก้วสุพัฒน์ |
พรรคชาติพัฒนา (2)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
เทวัญ ลิปตพัลลภ | |
2 | ![]() |
ดล เหตระกูล |
พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย (2)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
ดำรงค์ พิเดช | |
2 | ![]() |
ยรรยงก์ ถนอมพิชัยธำรง |
พรรคครูไทยเพื่อประชาชน (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
ปรีดา บุญเพลิง |
พรรคไทยศรีวิไลย์ (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ |
พรรคประชาชาติ (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
วันมูหะมัดนอร์ มะทา | ลาออก 11 กันยายน 2563 |
2 | ![]() |
พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 กันยายน 2563[32] |
พรรคประชาธรรมไทย (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
พิเชษฐ สถิรชวาล |
พรรคประชาธิปไตยใหม่ (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
สุรทิน พิจารณ์ |
พรรคประชาภิวัฒน์ (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
สมเกียรติ ศรลัมพ์ | ลาออก 11 สิงหาคม 2562 |
2 | ![]() |
นันทนา สงฆ์ประชา | เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 สิงหาคม 2562[33] |
พรรคพลังชาติไทย (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์ |
พรรคพลังธรรมใหม่ (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
ระวี มาศฉมาดล |
พรรคพลังปวงชนไทย (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
นิคม บุญวิเศษ |
พรรคพลังไทยรักไทย (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
คฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล |
พรรคพลเมืองไทย (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ |
พรรคไทรักธรรม (1)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
พีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค | ยุติการปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562[34]เริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกครั้ง 28 มกราคม 2563[35][22] |
พรรคอนาคตใหม่ (0)[แก้]
พรรคประชาชนปฏิรูป (0)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
ไพบูลย์ นิติตะวัน | ยุบเลิกพรรค เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2562[38] / ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ |
พรรคประชานิยม (0)[แก้]
# | รายชื่อ | รายละเอียดเพิ่มเติม ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง | |
1 | ![]() |
พลตำรวจเอกยงยุทธ เทพจำนงค์ | ยุบเลิกพรรค เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2563[39] / ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ |
รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน
กรุงเทพมหานคร[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
ภาคกลาง[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
ภาคเหนือ[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
ภาคใต้[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
ภาคตะวันออก[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
ภาคตะวันตก[แก้]
มีรายชื่อดังนี้
การเลือกตั้งซ่อม[แก้]
- 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 – เขต 8 เชียงใหม่ นายสุรพล เกียรติไชยากร ผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทยได้รับใบส้ม ผู้สมัครจากพรรคอนาคตใหม่คือ ศรีนวล บุญลือ ชนะการเลือกตั้ง[q]
- 23 ตุลาคม พ.ศ. 2562 – เขต 5 นครปฐม เนื่องจาก นางจุมพิตา จันทรขจร ลาออกจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2562 เนื่องจากปัญหาสุขภาพ จึงต้องมีการจัดการเลือกตั้งซ่อมผลปรากฏว่า เผดิมชัย สะสมทรัพย์ จาก พรรคชาติไทยพัฒนา ชนะการเลือกตั้ง
- 22 ธันวาคม พ.ศ. 2562 – เขต 7 ขอนแก่น เนื่องจาก นายนวัธ เตาะเจริญสุข ที่พ้นสภาพการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเนื่องจากถูกจำคุกระหว่างการดำรงตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ผลปรากฏว่า สมศักดิ์ คุณเงิน จาก พรรคพลังประชารัฐ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง
- 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 – เขต 2 กำแพงเพชร เนื่องจากพันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ที่พ้นสภาพการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเนื่องจากต้องคำพิพากษาให้จำคุกระหว่างการดำรงตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลฎีกา[57] ผลปรากฏว่า เพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ บุตรชายของพันตำรวจโทไวพจน์จาก พรรคพลังประชารัฐ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง
- 20 มิถุนายน พ.ศ. 2563 – เขต 4 ลำปาง[58] เนื่องจาก อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ เสียชีวิตระหว่างดำรงตำแหน่ง[59]ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 105 วรรคหนึ่ง (1) จึงต้องจัดการเลือกตั้งขึ้นใหม่ภายใน 45 วันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง ผลปรากฏว่า วัฒนา สิทธิวัง จาก พรรคพลังประชารัฐ เป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง
ประชากรศาสตร์[แก้]
อายุเฉลี่ยของ ส.ส. 498 คนที่ กกต. ประกาศรายชื่ออยู่ที่ 52 ปี ส.ส. อายุน้อยที่สุด คือ เพชรชมพู กิจบูรณะ (25 ปี) (พรรครวมพลังประชาชาติไทย)[60] และ ส.ส. อายุมากที่สุด คือ ชัย ชิดชอบ (91 ปี) (พรรคภูมิใจไทย)[61] แบ่งเป็นชาย 418 คน หญิง 76 คน และ LGBT 4 คน[61]
ส.ส. 309 คน คิดเป็นร้อยละ 62 ของสภา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท รองลงมาคือจบปริญญาตรี 127 คน คิดเป็นร้อยละ 25, ปริญญาเอก 48 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และต่ำกว่าปริญญาตรี 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3[61] ในสภาชุดดังกล่าว สมาชิกไม่เคยได้รับเลือกตั้ง 250 คน[61]
"ส.ส. เอื้ออาทร"[แก้]
ส.ส. เอื้ออาทร เป็นชื่อเรียก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 11 คน จากพรรคการเมืองขนาดเล็กซึ่งได้คะแนนเสียงต่ำกว่า 71,000 คะแนนจำนวน 11 พรรค ที่ได้รับการจัดสรรมาตามสูตรคำนวณ ส.ส. ของ กกต.[62] หลังการประกาศรับรอง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ได้เกิดกระแสการวิพากษ์วิจารณ์และการติดแฮชแท็กบนทวิตเตอร์[63][64] แต่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและพรรคการเมืองบางพรรคเห็นว่า อาจขัดต่อกฎหมาย และเอื้อประโยชน์ให้แก่พวกพ้อง[65] จึงเป็นที่มาของชื่อดังกล่าว
เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ตัวแทนพรรคการเมืองขนาดเล็ก 11 พรรคได้แถลงมติร่วมกันยืนยันสนับสนุนพรรคพลังประชารัฐเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และลงคะแนนให้พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัย[66]
ส.ส. เอื้ออาทรทั้ง 10 คน มีรายชื่อดังนี้
- ปรีดา บุญเพลิง (ครูไทยเพื่อประชาชน)
- พีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค (ไทรักธรรม) (เริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกครั้งวันที่ 28 มกราคม 2563 หลังจากพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2562)
- มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ (ไทยศรีวิไลย์)
- พิเชษฐ สถิรชวาล (ประชาธรรมไทย)
- สุรทิน พิจารณ์ (ประชาธิปไตยใหม่)
- พลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ (ประชานิยม)
- สมเกียรติ ศรลัมพ์ (ประชาภิวัฒน์)
- ระวี มาศฉมาดล (พลังธรรมใหม่)
- คฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล (พลังไทยรักไทย)
- ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ (พลเมืองไทย)
คณะกรรมาธิการ[แก้]
คณะกรรมการสามัญ[แก้]
ชื่อ | ประธาน | พรรค | |
---|---|---|---|
คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน | สิระ เจนจาคะ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร | อนันต์ ผลอำนวย | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน | จิรายุ ห่วงทรัพย์ | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการกีฬา | บุญลือ ประเสริฐโสภา | ภูมิใจไทย | |
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ | มุกดา พงษ์สมบัติ | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ | วุฒิพงษ์ นามบุตร | ประชาธิปัตย์ | |
คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ | กันตวรรณ ตันเถียร | ประชาธิปัตย์ | |
คณะกรรมาธิการการคมนาคม | โสภณ ซารัมย์ | ภูมิใจไทย | |
คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ | มนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ | เศรษฐกิจใหม่ | |
คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค | มานะ โลหะวณิชย์ | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคาร สถาบันการเงินและตลาดการเงิน | สมศักดิ์ พันธ์เกษม | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ | ศราวุธ เพชรพนมพร | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการตำรวจ | นิโรธ สุนทรเลขา | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ | ไชยา พรหมา | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการทหาร | พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว | คงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์ | ภูมิใจไทย | |
คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ | ก้าวไกล | |
คณะกรรมาธิการการปกครอง | ไพจิต ศรีวรขาน | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนท้องถิ่น และการบริหารราชการรูปแบบพิเศษ | ซูการ์โน มะทา | ประชาชาติ | |
คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด | นิพันธ์ ศิริธร | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย | วุฒิชัย กิตติธเนศวร | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ | พลตำรวจเอกเสรีพิศุทธ์ เตมียเวส | เสรีรวมไทย | |
คณะกรรมาธิการการพลังงาน | กิตติกร โล่ห์สุนทร | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน | ปดิพัทธ์ สันติภาดา | ก้าวไกล | |
คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ | ศิริกัญญา ตันสกุล | ก้าวไกล | |
คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา | อันวาร์ สาและ | ประชาธิปัตย์ | |
คณะกรรมาธิการการแรงงาน | สุเทพ อู่อ้น | ก้าวไกล | |
คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม | อัครวัฒน์ อัศวเหม | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาราคาผลิตผลเกษตรกรรม | ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ | ชาติไทยพัฒนา | |
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม | สุชาติ อุสาหะ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการการศึกษา | นพคุณ รัฐผไท | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม | รังสิมา รอดรัศมี | ประชาธิปัตย์ | |
คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข | ปกรณ์ มุ่งเจริญพร | ภูมิใจไทย | |
คณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม | กัลยา รุ่งวิจิตรชัย | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม | วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ | เพื่อไทย |
คณะกรรมการวิสามัญ[แก้]
ชื่อ | ประธาน | พรรค | |
---|---|---|---|
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. .... | วิเชียร ชวลิต | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญยกร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. .... | วิเชียร ชวลิต | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำ | วีระกร คำประกอบ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและรถไฟฟ้า (บีทีเอส) สภาผู้แทนราษฎร | วีระกร คำประกอบ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการยกร่างข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. .... | วันมูหะมัดนอร์ มะทา | ประชาชาติ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการควบคุมการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม สภาผู้แทนราษฎร | ชวลิต วิชยสุทธิ์ | เพื่อไทย | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สภาผู้แทนราษฎร | อุตตม สาวนายน | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้ำทั้งระบบ | ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการลอบประทุษร้ายประชาชน | พรชัย ตระกูลวรานนท์ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 | พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค | คณะรัฐมนตรี | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการการชำระหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา | ชินวรณ์ บุณยเกียรติ | ประชาธิปัตย์ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ | อนันต์ ผลอำนวย | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระทำชำเราและการล่วงละเมิดทางเพศ | โกวิทย์ พวงงาม | พลังท้องถิ่นไท | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร | อธิรัฐ รัตนเศรษฐ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้กัญชา กัญชง และกระท่อมอย่างเป็นระบบ สภาผู้แทนราษฎร | พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก | ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า | พลังประชารัฐ | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาที่ดินและการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน | ประภัตร โพธสุธน | ชาติไทยพัฒนา | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการประกอบธุรกิจออนไลน์และการทำธุรกรรมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ | สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ | ภูมิใจไทย | |
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สภาผู้แทนราษฎร | สันติ พร้อมพัฒน์[67] | พลังประชารัฐ |
เชิงอรรถ[แก้]
- ↑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 100 ระบุว่า "สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง"
- ↑ หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 8 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2562 (26 พฤษภาคม 2562)
- ↑ หลังการยุบพรรคประชาชนปฏิรูป
- ↑ หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2562 (23 ตุลาคม 2562)
- ↑ หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น เขต 7 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2562 (22 ธันวาคม 2562)
- ↑ หลังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 คน ที่ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ มีสังกัดพรรคการเมืองใหม่ครบทั้ง 4 คน
- ↑ กกต.ปรับสูตรคำนวณสส.บัญชีรายชื่อใหม่ ภายหลังนายชาติชาย วรพิพัฒน์ ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ ถูกศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งพิพากษาให้โดนใบดำ
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญมีวินิจฉัยให้ยุบพรรคอนาคตใหม่
- ↑ ส.ส. ที่สังกัดพรรคอนาคตใหม่เดิมเข้ากับพรรคภูมิใจไทย 9 คน
- ↑ หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง เขต 4 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2563 (20 มิถุนายน 2563)
- ↑ หลังการยุบพรรคประชานิยม
- ↑ ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจถูกศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ยุติการปฏิบัติหน้าที่ ส.ส.
- ↑ ศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาว่าผู้คัดค้านกระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๗๓ วรรคหนึ่ง (๕) โดยการใส่ร้ายด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือจูงใจให้เข้าใจผิดในคะแนนนิยมของผู้สมัครและพรรคการเมืองเพื่อจูงใจผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนให้แก่ตนเองหรือผู้สมัครอื่นการกระทำของผู้คัดค้านดังกล่าวย่อมเป็นการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยวิธีการอันมิชอบด้วยกฎหมายอันเป็นการทุจริตในการเลือกตั้ง ให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของ นายชาติชาย วรพิพัฒน์ ผู้คัดค้านมีกำหนดสิบปีนับแต่วันที่มีคำพิพากษา ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 226 วรรคสาม ประกอบพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๘ วรรคหนึ่ง นั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งจึงมีมติให้คำนวณเพื่อหาจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองใหม่ โดยมีวิธีการคำนวณ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๑ วรรคสอง
- ↑ รวมมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ ยังเป็นฝ่ายค้านอยู่ หลังไม่เห็นด้วยกับการลาออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้านของมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคเศรษฐกิจใหม่
- ↑ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 91 วรรคสี่ ระบุว่า "เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสมาชิกที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้ถือว่าการสิ้นสภาพของพรรคการเมืองตามมาตรานี้ เป็นการถูกยุบพรรคการเมือง"
- ↑ ก่อนหน้านี้สุรพล เกียรติไชยากรจากพรรคเพื่อไทยชนะการเลือกตั้งในเขตนี้ แต่ต่อมา กกต. สั่งเพิกถอนสิทธิ และสั่งการเลือกตั้งใหม่ ทั้งนี้ สุรพลไม่ได้เป็น ส.ส. เมื่อมีการเปิดประชุมสภาฯ
- ↑ ผลการคำนวณ ส.ส. บัญชีรายชื่อใหม่หลังการเลือกตั้ง ทำให้พรรคพลังประชารัฐและพรรคประชาธิปัตย์ได้ ส.ส. เพิ่มอีกพรรคละ 1 ที่นั่ง ส่วนพรรคไทรักธรรมเสียที่นั่ง
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "รัฐสภายืด "เปิดสวิตช์แก้ รธน."". BBC ไทย. สืบค้นเมื่อ 25 September 2020.
- ↑ เลือกตั้ง 2562 : คะแนนเสียงเลือกตั้งบอกอะไรในการเมืองไทยบ้าง
- ↑ ด่วน ศาลรัฐธรรมนูญอ่านคำวินิจฉัย “นวัธ เตาะเจริญสุข” พ้นสมาชิกภาพ ส.ส.
- ↑ "อนาคตใหม่"ขับ 4 ส.ส.โหวตสวนพ้นจากพรรค
- ↑ เศรษฐกิจใหม่ลาออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน
- ↑ “มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์” ย้ำชัดๆ แม้เหลือคนเดียวก็จะอยู่ฝ่ายค้าน ลั่น แยกทางกับเศรษฐกิจใหม่ที่อุดมการณ์ไม่ตรงกัน แต่ยังไม่ลาออกจากพรรค
- ↑ รับทราบเรื่อง สถานภาพการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- ↑ ชาติพัฒนาประกาศได้ส.ส.เพิ่ม 1 คนจากพรรคอนาคตใหม่
- ↑ เศรษฐกิจใหม่ ลั่นฝ่ายอิสระไม่มีอยู่จริง แจงทิ้ง6พรรคฝ่ายค้านซบรัฐบาล
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 2019-05-10. Check date values in:
|date=
(help) - ↑ “ดร.แหม่ม” ยื่นใบลาออก จาก ส.ส.พรรคพลังประชารัฐ ลุ้นตำแหน่ง โฆษกรัฐบาล
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายพรชัย ตระกูลวรานนท์)
- ↑ ไพบูลย์ นิติตะวัน ส.ส. พรรคพลังประชารัฐ ค้านสอบปมถวายสัตย์ฯ ชี้ไม่มีใครมีอำนาจ
- ↑ ‘ไพบูลย์’ เตือนซักฟอกถวายสัตย์ ระวังผิดอาญา ‘ชวน’ เมิน ไฟเขียวให้ซักฟอกต่อ
- ↑ 'จุติ' ลาออกพ้นส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ 'อิสระ' ขยับเสียบแทน
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้งเรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ ๒)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายพิสิฐ ลี้อาธรรม)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายอิสระ เสรีวัฒนวุฒิ)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวพิมพ์รพี พันธ์วิชาติกุล)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (พรรคประชาธิปัตย์ ลำดับที่ ๒๖ นายจักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์)
- ↑ 22.0 22.1 ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองในลำดับท้ายพ้นจากตำแหน่งและให้ผู้มีรายชื่อในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ [ลำดับที่ ๑ พรรคไทรักธรรม นายพีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (พันเอก เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายมารุต มัสยวณิช พรรคภูมิใจไทย)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสวาป เผ่าประทาน พรรคภูมิใจไทย)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางกนกวรรณ วิลาวัณย์ พรรคภูมิใจไทย)
- ↑ “กนกวรรณ” ยื่นไขก๊อก ส.ส.เปิดทาง “สุชาติ” เป็นผู้แทนแบบบัญชีรายชื่อ ภท.
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร พรรคภูมิใจไทย)
- ↑ 29.0 29.1 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ เลขาฯ รปช. ลาออก ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ พรรคดัน "จุฑาฑัตต" ขึ้นนั่งแทน
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวจุฑาฑัตต เหล่าธรรมทัศน์ พรรครวมพลังประชาชาติไทย)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎรเรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎรเรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางนันทนา สงฆ์ประชา)
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ ๒) ๑. รายชื่อพรรคการเมืองและผู้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- ↑ การประกาศผลการคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อใหม่
- ↑ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ ๑๔/๒๕๖๒ เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๒ ว่า สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ของ นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๑ (๖) ประกอบมาตรา ๙๘ (๓) หรือไม่ (ระหว่าง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ร้อง นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้ถูกร้อง)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่อในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายมานพ คีรีภูวดล)
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง พรรคประชาชนปฏิรูปสิ้นสภาพความเป็นพรรคการเมือง
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง พรรคประชานิยมสิ้นสภาพความเป็นพรรคการเมือง
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร เขตเลือกตั้งที่ ๒ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๓
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดกำแพงเพชร เขตเลือกตั้งที่ ๒ นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ พรรคพลังประชารัฐ)
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เขตเลือกตั้งที่ ๕ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๒
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดนครปฐม เขตเลือกตั้งที่ ๕ นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ พรรคชาติไทยพัฒนา)
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ ศาลฎีกาสั่งเลือกตั้งซ่อม ส.ส.เขต 5 สมุทรปราการ
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ ‘อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์’ ส.ส.ลำปาง พรรคเพื่อไทย ติดเชื้อในกระแสเลือดเสียชีวิต
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (นายวัฒนา สิทธิวัง พรรคพลังประชารัฐ)
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ ๑๒/๒๕๖๒ เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๒ ว่า สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ นายนวัธ เตาะเจริญสุข สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๑ (๖) ประกอบมาตรา ๙๘ (๖) หรือไม่ (ระหว่าง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ร้อง นายนวัธ เตาะเจริญสุข ผู้ถูกร้อง)
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น เขตเลือกตั้งที่ ๗ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๒
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดขอนแก่น เขตเลือกตั้งที่ ๗ นายสมศักดิ์ คุณเงิน พรรคพลังประชารัฐ)
- ↑ 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร เขตเลือกตั้งที่ ๒ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๓
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง เขตเลือกตั้งที่ ๔ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๓
- ↑ ‘อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์’ ส.ส.ลำปาง พรรคเพื่อไทย ติดเชื้อในกระแสเลือดเสียชีวิต
- ↑ ใครคือ ‘น้องเพชร’ ส.ส.หน้าใหม่ พรรคลุงกำนัน น้องเล็กสุด อายุเท่านี้ ดีกรีไม่เบา!
- ↑ 61.0 61.1 61.2 61.3 เลือกตั้ง 62 | 498 ส.ส. หน้าใหม่ครึ่ง จบ ป.โท มากที่สุด ทหาร-ตำรวจ 15 คน
- ↑ "เลือกตั้ง 2562 : มติเอกฉันท์ ศาลรัฐธรรมนูญชี้ พ.ร.ป. ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ". bbc.com. BBC Thai. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "แฮชแท็ก #สสเอื้ออาทร ทะยานติดอันดับ หลังเห็นผลประกาศ ส.ส.บัญชีรายชื่อ". kapook.com. Kapook.com. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "ทวิตกระหน่ำเดือด! ส.ส.เอื้ออาทร หลังกกต.รับรองผล พรรคแต้มน้อย ตบเท้าเข้าสภา". khaosod.co.th. ข่าวสด. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "ปชป.ออกโรงค้านสูตรคำนวณปาร์ตี้ลิสต์ กกต. ชี้ขัด รธน.-กม.เลือกตั้ง เตรียมหาช่องฟ้องร้องปฏิบัติหน้าที่มิชอบ". matichon.co.th. มติชน. 9 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "มติ 11 พรรคเล็ก หนุนพปชร.เป็นแกนนำตั้งรัฐบาล โหวตบิ๊กตู่นั่งนายกฯ (คลิป)". thairath.co.th. ไทยรัฐ. 13 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ กมธ.งบฯ64เคาะตั้ง'สันติ พร้อมพัฒน์'นั่งประธานแทน'อุตตม'