สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | อาคารรัฐสภาไทย | ||||
วาระ | 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 – 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 (1 ปี 18 วัน) | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีทักษิณ 2 | ||||
ฝ่ายค้าน | พรรคประชาธิปัตย์กับพรรคร่วมฝ่ายค้านอีก 2 พรรค | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
![]() | |||||
สมาชิก | 500 | ||||
ประธาน | โภคิน พลกุล | ||||
รองประธานคนที่ 1 | สุชาติ ตันเจริญ | ||||
รองประธานคนที่ 2 | ลลิตา ฤกษ์สำราญ | ||||
นายกรัฐมนตรี | ทักษิณ ชินวัตร | ||||
ผู้นำฝ่ายค้าน | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | ||||
พรรคครอง | พรรคไทยรักไทย |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 – 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรคและภาค
[แก้]![]() | |||||||||
พรรค | บัญชีรายชื่อ | แบ่งเขต | รวม | ||||||
กรุงเทพ | กลาง | เหนือ | อีสาน | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | |||
ไทยรักไทย | 67 | 32 | 73 | 40 | 126 | 1 | 24 | 12 | 375 |
ประชาธิปัตย์ | 26 | 4 | 4 | - | 2 | 52 | 1 | 7 | 96 |
ชาติไทย | 7 | 1 | 11 | - | 6 | 1 | - | - | 26 |
มหาชน | - | - | 1 | - | 2 | - | - | - | 3 |
รวม | 100 | 37 | 89 | 40 | 136 | 54 | 25 | 19 | 500 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
[แก้]ได้รับการเลือกตั้ง | ![]() ![]() | ||
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง |
มีรายนามดังนี้[1]
พรรคไทยรักไทย (67)
[แก้]พรรคประชาธิปัตย์ (26)
[แก้]# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
บัญญัติ บรรทัดฐาน | |
2 | ![]() |
ชวน หลีกภัย | |
3 | ![]() |
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | |
4 | ![]() |
ไพฑูรย์ แก้วทอง | |
5 | ![]() |
โพธิพงษ์ ล่ำซำ | |
6 | ![]() |
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ | |
7 | ![]() |
คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช | |
8 | ![]() |
นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ | |
9 | ![]() |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี | |
10 | ![]() |
สุทัศน์ เงินหมื่น | |
11 | ![]() |
สุเทพ เทือกสุบรรณ | |
12 | ![]() |
มารุต บุนนาค | |
13 | ![]() |
สาวิตต์ โพธิวิหค | |
14 | ![]() |
นิพนธ์ บุญญามณี | |
15 | ![]() |
พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค | |
16 | ![]() |
เกียรติ สิทธีอมร | |
17 | ![]() |
เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ | |
18 | ![]() |
นายแพทย์ วัลลภ ไทยเหนือ | |
19 | ![]() |
สัมพันธ์ ทองสมัคร | |
20 | ![]() |
ชาญชัย อิสระเสนารักษ์ | |
21 | ![]() |
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ | |
22 | ![]() |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีรยศ ราฮิมมูลา | |
23 | ![]() |
เจริญ คันธวงศ์ | |
24 | ![]() |
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร | |
25 | ![]() |
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ | |
26 | ![]() |
นายแพทย์ บุรณัชย์ สมุทรักษ์ |
พรรคชาติไทย (7)
[แก้]# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ![]() |
วินัย วิริยกิจจา | |
2 | ![]() |
นิกร จำนง | |
3 | ![]() |
วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ | |
4 | ![]() |
ประภัตร โพธสุธน | |
5 | ![]() |
จองชัย เที่ยงธรรม | |
6 | ![]() |
ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ | ลาออก |
7 | ![]() |
ธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ | |
8 | ![]() |
เกษม สรศักดิ์เกษม |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน มีรายนามดังนี้
กรุงเทพมหานคร
[แก้]มีรายชื่อดังต่อไปนี้
ภาคกลาง
[แก้]ภาคเหนือ
[แก้]มีรายชื่อดังต่อไปนี้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
[แก้]มีรายนามดังนี้
ภาคใต้
[แก้]มีรายชื่อดังต่อไปนี้
ภาคตะวันออก
[แก้]มีรายชื่อดังต่อไปนี้
ภาคตะวันตก
[แก้]มีรายชื่อดังต่อไปนี้
จังหวัด | เขต | รายชื่อ | พรรค | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|---|
กาญจนบุรี | 1 | พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
||
2 | สันทัด จีนาภักดิ์ | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
3 | ปารเมศ โพธารากุล | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
ได้รับใบแดงก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ | ||
เรวัต สิรินุกุล | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 | |||
4 | ไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
5 | พลโท มะ โพธิ์งาม | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
ตาก | 1 | ธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
||
2 | ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|||
3 | ธนิตพล ไชยนันทน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|||
ประจวบคีรีขันธ์ | 1 | มนตรี ปาน้อยนนท์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
2 | เฉลิมชัย ศรีอ่อน | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|||
3 | ประมวล พงศ์ถาวราเดช | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|||
เพชรบุรี | 1 | อลงกรณ์ พลบุตร | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
||
2 | ธานี ยี่สาร | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
3 | อภิชาติ สุภาแพ่ง | พรรคประชาธิปัตย์ | ![]() |
|||
ราชบุรี | 1 | กอบกุล นพอมรบดี | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
||
2 | วิวัฒน์ นิติกาญจนา | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
3 | ปารีณา ไกรคุปต์ | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
4 | วัฒนา มังคลรังษี | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
|||
5 | บุญลือ ประเสริฐโสภา | พรรคไทยรักไทย | ![]() |
ผู้ดำรงตำแหน่ง
[แก้]- ประธานสภาผู้แทนราษฎร โภคิน พลกุล
- รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง สุชาติ ตันเจริญ
- รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง ลลิตา ฤกษ์สำราญ
- ผู้นำฝ่ายค้าน อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประธานคณะกรรมาธิการสามัญ
[แก้]- คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร (โสภณ เพชรสว่าง ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ (ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการกีฬา (ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ (ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี)
- คณะกรรมาธิการการการคมนาคม (ไพศาล จันทรภักดี ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค (วิชาญ มีนชัยนันท์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน (เรืองวิทย์ ลิกค์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการตรวจรายงานการประชุม (สุรชาติ ชำนาญศิลป์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ (สุรพล เกียรติไชยากร ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการตำรวจ (นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการติดตามการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภาผู้แทนราษฎร (วินัย เสนเนียม ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นพดล พลเสน ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการทหาร (พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว (สง่า ธนสงวนวงศ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการปกครอง (ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ (เทวัญ ลิปตพัลลภ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการพลังงาน (เอนก หุตังคบดี ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง (นคร มาฉิม ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ (ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการพาณิชย์ (ตรีนุช เทียนทอง ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน (สุวโรช พะลัง ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการแรงงาน (พิมพา จันทร์ประสงค์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (บุญพันธ์ แขวัฒนะ ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการศึกษา (ประกิจ พลเดช ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม (กัญจนา ศิลปอาชา ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข (ธีระ สลักเพชร ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม (วิชิต ปลั่งศรีสกุล ประธานคณะกรรมาธิการ)
- คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม (สุขวิช รังสิตพล ประธานคณะกรรมาธิการ)
ข้อมูลทั่วไป
[แก้]- จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก จำนวน 101 คน
- จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสุภาพสตรี จำนวน 53 คน
- สมาชิกที่มีอายุมากที่สุด คือ ศาสตราจารย์มารุต บุนนาค ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อายุ 81 ปี
- สมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุด คือ เสมอกัน เที่ยงธรรม ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จังหวัดสุพรรณบุรี พรรคชาติไทย อายุ 27 ปี
การสิ้นสุดลงของสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]สภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ได้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 อันเนื่องมาจากมีพระบรมราชโองการให้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร แลกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แต่ต่อมาถูกศาลรัฐธรรมนูญ พิพากษาให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ และตลอดระยะเวลา 7 เดือน จึงไม่มีสภาผู้แทนราษฎร จนกระทั่งในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งใหม่ ก็เกิดการรัฐประหาร นำโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ค.ป.ค.) เพื่อยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรักษาการนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร จึงให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรจึงถูกเลื่อนออกไปจากวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ไปจนกระทั่งวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยมีรัฐบาลชั่วคราว บริหารราชการแผ่นดินไปจนกว่าจะถึงวันเลือกตั้ง
ฉายารัฐสภา
[แก้]ตำแหน่ง | พ.ศ.2548[3] |
---|---|
ดาวเด่น | ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ |
ดาวดับ | ประชา ประสพดี วิชิต ปลั่งศรีสกุล สิทธิชัย กิตติธเนศวร |
ฉายาสภาผู้แทนราษฎร | ปลอกคอพันธุ์ชิน |
ฉายาวุฒิสภา | สภาทาส |
ประธานสภาผู้แทนราษฎร | นิติกู |
ประธานวุฒิสภา | สุ(ด) ทน |
ผู้นำฝ่ายค้าน | ขุนศึกไร้ดาบ |
เหตุการณ์แห่งปี | ปัญหาการแต่งตั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน |
คู่กัดแห่งปี | ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และ พรรคไทยรักไทย |
วาทะแห่งปี | "มันเอาอธิปไตยของปวงชนชาวไทยไปล็อกเอาไว้เหมือนทาส" (เสนาะ เทียนทอง) |
คนดีศรีสภา | สมคิด ศรีสังคม |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- ↑ chuleeporn (2020-04-11). "ส่อง'ธานินทร์' ศาสนานำการเมือง". www.komchadluek.net. สืบค้นเมื่อ 2025-02-27.
- ↑ "ตั้งฉายาสภาส.ส.-ส.ว."ปลอกคอพันธุ์ชิน-สภาทาส"". mgronline.com. 2005-12-30.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน