สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
![]() | |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | พระที่นั่งอนันตสมาคม | ||||
วาระ | 29 มกราคม พ.ศ. 2491 – 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีควง 4 (2491) คณะรัฐมนตรีแปลก 3 (2491-2492) คณะรัฐมนตรีแปลก 4 (2492-2494) คณะรัฐมนตรีแปลก 5 (2494) | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
![]() | |||||
สมาชิก | 219 | ||||
ประธาน | เกษม บุญศรี ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 พระราชธรรมนิเทศ ตั้งแต่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 | ||||
รองประธาน | ประเสริฐ สุดบรรทัด ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 ยกเสียง เหมะภูติ ตั้งแต่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 | ||||
นายกรัฐมนตรี | ควง อภัยวงศ์ ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 แปลก พิบูลสงคราม ตั้งแต่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491 | ||||
พรรคครอง | พรรคประชาธิปัตย์ (2491) พรรคธรรมาธิปัตย์ (2491-2494) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 (29 มกราคม พ.ศ. 2491 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 99 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 99 คน
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 และให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 2 ทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎรไปพลางก่อน[1]
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]![]() ![]() |
มีรายนามดังนี้
พระนคร
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
พระนคร | พันตรีควง อภัยวงศ์ | ![]() |
|
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | ![]() |
||
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | ![]() |
ลาออก | |
พลโทชิต มั่นศิลป์สินาดโยธารักษ์ | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ 4 ธันวาคม 2491 | |
ร้อยตำรวจเอกภิเศก พรหมมายน | ![]() |
ธนบุรี
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | ไถง สุวรรณทัต | ![]() |
ภาคกลาง
[แก้]ภาคเหนือ
[แก้]ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาฬสินธุ์ | กว้าง ทองทวี | ![]() |
เสียชีวิต 26 พฤศจิกายน 2493 |
เอ็จ บุญไชย | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ 15 กุมภาพันธ์ 2494 | |
ขอนแก่น | ทัศน์ กลีบโกมุท | ![]() |
|
โสภัณ ศุภธีระ | ![]() |
||
ประวัติ จันทนพิมพ์ | ![]() |
||
ชัยภูมิ | ถัด ชัยบุตร | ![]() |
|
นครพนม | เอื้อ จันทรวงศ์ | ![]() |
|
พันธุ์ อินทุวงศ์ | ![]() |
||
นครราชสีมา | ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) | ![]() |
|
พลตรีไชยยันต์ เกรียงเดชพิชัย | ![]() |
||
ร้อยโทสัมพันธ์ ขันธะชวนะ | ![]() |
ลาออก | |
หลวงระงับประจันตคาม | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ 4 ธันวาคม 2491 | |
เลื่อน พงษ์โสภณ | ![]() |
ลาออก 16 เมษายน 2492 | |
ร้อยเอกขุนสุรจิตรจตุรงค์ | ![]() |
เลือกตั้งใหม่ 3 กรกฎาคม 2492 | |
บุรีรัมย์ | เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา | ![]() |
|
ไพรัช วิเศษโกสิน | ![]() |
||
มหาสารคาม | ฮวด ทองโรจน์ | ![]() |
|
บุญช่วย อัตถากร | ![]() |
||
ร้อยเอ็ด | ชอ สายเชื้อ | ![]() |
|
นิวัฒน์ พูนศรี ศรีสุวรนันท์ | ![]() |
||
เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ | ![]() |
||
เลย | มา เสริฐศรี | ![]() |
|
ศรีสะเกษ | บุญเพ็ง พรหมคุณ | ![]() |
|
เทพ โชตินุชิต | ![]() |
||
สกลนคร | เจียม ศิริขันธ์ | ![]() |
|
สุรินทร์ | ขาว ธรรมสุชาติ | ![]() |
|
นิล ประจันต์ | ![]() |
||
หนองคาย | ชื่น ระวิวรรณ | ![]() |
|
อุดรธานี | บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ | ![]() |
|
สวน พรหมประกาย | ![]() |
||
อุบลราชธานี | ผดุง โกศัลวิตร | ![]() |
|
ฟอง สิทธิธรรม | ![]() |
||
เลียง ไชยกาล | ![]() |
||
ยงยุทธ พึ่งภพ | ![]() |
ภาคใต้
[แก้]ภาคตะวันออก
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
จันทบุรี | วงศ์ วีระชาติพลี | ![]() |
|
ฉะเชิงเทรา | กิจจา วัฒนสินธุ์ | ![]() |
|
ชลบุรี | ชวลิต อภัยวงศ์ | ![]() |
|
ตราด | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) | ![]() |
|
ปราจีนบุรี | สมบูรณ์ เดชสุภา | ![]() |
|
ระยอง | เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ | ![]() |
ภาคตะวันตก
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาญจนบุรี | สวัสดิ์ สาระสาลิน | ![]() |
|
ตาก | เทียม ไชยนันทน์ | ![]() |
|
ประจวบคีรีขันธ์ | หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร | ![]() |
|
เพชรบุรี | พันโทพโยม จุลานนท์ | ![]() |
|
ราชบุรี | ปฐม โพธิ์แก้ว | ![]() |
การเลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2492
[แก้]การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492 เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 21 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 เพิ่มเติม ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มเติม จำนวน 21 คน
![]() ![]() |
มีรายนามดังนี้
พระนคร
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
พระนคร | พลตรีขุนปลดปรปักษ์ | ![]() |
|
ประพัฒน์ วรรณธนะสาร | ![]() |
ธนบุรี
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | เพทาย โชตินุชิต | ![]() |
ภาคกลาง
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
นครปฐม | สานนท์ สายสว่าง | ![]() |
|
พิจิตร | เผด็จ จิราภรณ์ | ![]() |
ภาคเหนือ
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
เชียงราย | บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ | ![]() |
|
เชียงใหม่ | ทองย้อย กลิ่นทอง | ![]() |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
[แก้]ภาคใต้
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
นครศรีธรรมราช | ร้อยตำรวจเอก เปี่ยม บุณยะโชติ | ![]() |
ภาคตะวันออก
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ฉะเชิงเทรา | หลวงนรกิจบริหาร (แดง กนิษฐสุต) | ![]() |
ภาคตะวันตก
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ราชบุรี | โกศล สินธุเสก | ![]() |
ผู้ดำรงตำแหน่ง
[แก้]ประธานสภาผู้แทนราษฎร เกษม บุญศรี
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ร้อยเอกประเสริฐ สุดบรรทัด (20 กุมภาพันธ์ 2491 - 25 มีนาคม 2492) , ยกเสียง เหมะภูติ (15 มิถุนายน 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494)