ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พลโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต''' (20 กรกฎาคมพ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีต[[ผู้บัญชาการทหารบก]], อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]], อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข]], อดีตสมาชิก[[คณะราษฎร]] และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี พ.ศ. 2476
{{เรซูเม}}
'''พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต''' (20 กรกฎาคมพ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพ กองทัพ ภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน อดีต[[ผู้บัญชาการทหารบก]] อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข]] อดีตสมาชิก[[คณะราษฎร์]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท ที่ 2 (พ.ศ. 2476)


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต มีชื่อจริงว่า '''พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต''' มีนามเดิมว่า "ค้วน จินตะคุณ" เกิดเมื่อวันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 ตรงกับวัน 2 <sup>11</sup><sub>ฯ</sub> 8 8 ค่ำ ปีวอก ภูมิลำเนาเดิม คลองบางกอบัว [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] บิดาชื่อนายจิ้น มารดาชื่อนางเพียร


จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยมัธยม ([[โรงเรียนนายร้อยทหารบก]]) ในปี พ.ศ. 2457 ร่วมรุ่นเดียวกันกับ จอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม]], พลเอก [[อดุล อดุลเดชจรัส]], พลเอก [[มังกร พรหมโยธี]] และจอมพล [[ผิน ชุณหะวัณ]] ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2475 นักเรียนนายร้อยรุ่นเดียวกันนี้หลายคนได้เข้าร่วมเป็น[[คณะราษฎร]] [[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|เพื่อปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] ซึ่งรวมถึงตัวของหลวงเกรียงศักดิ์พิชิตด้วย<ref>''สองฝั่งประชาธิปไตย'', "2475". สารคดีทางไทยพีบีเอส: พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2556</ref>
พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต หรือ พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต มีนามเดิมว่า ค้วน จินตะคุณ เกิดวันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 ตรงกับวัน 2 <sup>11</sup><sub>ฯ</sub> 8 8 ค่ำ ปีวอก ภูมิลำเนาเดิม คลองบางกอบัว พระประแดง [[จังหวัดสมุทรปราการ]] บิดาชื่อนายจิ้น มารดาชื่อนางเพียร


ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิก[[บรรดาศักดิ์ไทย]] หลวงเกรียงศักดิ์พิชิตในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วย[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9|คณะรัฐมนตรีชุดที่ 9]] จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เมื่อ พ.ศ. 2484<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/D/4525_1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายยังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์]</ref>
ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิก[[บรรดาศักดิ์ไทย]] หลวงเกรียงศักดิ์พิชิตในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วย[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9|คณะรัฐมนตรีชุดที่ 9]] จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เมื่อ พ.ศ. 2484<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/D/4525_1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายยังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์]</ref>


พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต มีบุตรธิดารวม 11 คน โดยกับ คุณหญิงชื่น เกรียงศักดิ์พิชิต มีบุตรธิดา 9 คน และกับ นางบุญเหลือ ปีเจริญ มีบุตรธิดา 2 คน
หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต มีบุตรธิดารวม 11 คน โดยกับ คุณหญิงชื่น เกรียงศักดิ์พิชิต มีบุตรธิดา 9 คน และกับ นางบุญเหลือ ปีเจริญ มีบุตรธิดา 2 คน
ถึงแก่กรรม ด้วย[[โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่]] เมื่อวันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 ตรงกับวัน 4 <sup>ฯ</sup><sub>5</sub> 8 8 ค่ำ ปีมะโรง สิริรวมอายุได้ 68 ปี 9 วัน


ถึงแก่อนิจกรรม ด้วย[[โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่]] เมื่อวันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 ตรงกับวัน 4 <sup>ฯ</sup><sub>5</sub> 8 8 ค่ำ ปีมะโรง สิริรวมอายุได้ 68 ปี 9 วัน
== ประวัติการศึกษา ==

พ.ศ. 2457 :โรงเรียนนายร้อยมัธยม


== สงครามไทย-อินโดจีน ==
== สงครามไทย-อินโดจีน ==


ในระหว่างสงครามไทย-อินโดจีน พ.ศ. 2483 กองทัพในบัญชาของ พันเอกหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (ยศขณะนั้น) สามารถเข้ายึด[[เมืองจำปาศักดิ์]]ได้ พลตรี [[หลวงวิจิตรวาทการ]] ได้แต่งเพลงให้หนึ่งเพลงคือ เพลงนครจำปาศักดิ์ มีเนื้อหายกย่องวีรกรรม
ในระหว่างสงครามไทย-อินโดจีน ([[กรณีพิพาทอินโดจีน]]) พ.ศ. 2483 กองทัพในบัญชาของ พันเอก หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (ยศในขณะนั้น) สามารถเข้ายึด[[จำปาศักดิ์|เมืองจำปาศักดิ์]]ได้ พลตรี [[หลวงวิจิตรวาทการ]] ได้แต่งเพลงให้เพลงหนึ่งคือ ''เพลงนครจำปาศักดิ์'' มีเนื้อหายกย่องวีรกรรมครั้งนี้


== สัญญาบัตรยศทหาร ==
== สัญญาบัตรยศทหาร ==
บรรทัด 53: บรรทัด 50:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* หนังสือ ''สละชีวิตเพื่อคนข้างหลัง สกุล "เกรียงศักดิ์พิชิต" จัด พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2507''
* หนังสือ ''สละชีวิตเพื่อคนข้างหลัง สกุล "เกรียงศักดิ์พิชิต" จัด พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2507''

* หนังสือ ''ตำนานเครื่องมโหรีปี่พาทย์ และ ประชุมบทเพลงไทยเดิม พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (ค้วน จินตะคุณ) ณ สุสานหลวงวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2507''
* หนังสือ ''ตำนานเครื่องมโหรีปี่พาทย์ และ ประชุมบทเพลงไทยเดิม พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (ค้วน จินตะคุณ) ณ สุสานหลวงวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2507''

{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย}}
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย}}
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย}}
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย}}
บรรทัด 72: บรรทัด 69:
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.]]
{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:45, 13 พฤษภาคม 2556

พลโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคมพ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี พ.ศ. 2476

ประวัติ

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต มีชื่อจริงว่า พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต มีนามเดิมว่า "ค้วน จินตะคุณ" เกิดเมื่อวันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 ตรงกับวัน 2 11 8 8 ค่ำ ปีวอก ภูมิลำเนาเดิม คลองบางกอบัว อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บิดาชื่อนายจิ้น มารดาชื่อนางเพียร

จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยมัธยม (โรงเรียนนายร้อยทหารบก) ในปี พ.ศ. 2457 ร่วมรุ่นเดียวกันกับ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม, พลเอก อดุล อดุลเดชจรัส, พลเอก มังกร พรหมโยธี และจอมพล ผิน ชุณหะวัณ ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2475 นักเรียนนายร้อยรุ่นเดียวกันนี้หลายคนได้เข้าร่วมเป็นคณะราษฎร เพื่อปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งรวมถึงตัวของหลวงเกรียงศักดิ์พิชิตด้วย[1]

ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเกรียงศักดิ์พิชิตในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เมื่อ พ.ศ. 2484[2]

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต มีบุตรธิดารวม 11 คน โดยกับ คุณหญิงชื่น เกรียงศักดิ์พิชิต มีบุตรธิดา 9 คน และกับ นางบุญเหลือ ปีเจริญ มีบุตรธิดา 2 คน

ถึงแก่อนิจกรรม ด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เมื่อวันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 ตรงกับวัน 4 5 8 8 ค่ำ ปีมะโรง สิริรวมอายุได้ 68 ปี 9 วัน

สงครามไทย-อินโดจีน

ในระหว่างสงครามไทย-อินโดจีน (กรณีพิพาทอินโดจีน) พ.ศ. 2483 กองทัพในบัญชาของ พันเอก หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (ยศในขณะนั้น) สามารถเข้ายึดเมืองจำปาศักดิ์ได้ พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ได้แต่งเพลงให้เพลงหนึ่งคือ เพลงนครจำปาศักดิ์ มีเนื้อหายกย่องวีรกรรมครั้งนี้

สัญญาบัตรยศทหาร

  • 10 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็น ว่าที่ร้อยตรี
  • 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 เป็น ร้อยตรี
  • 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 เป็น ร้อยโท
  • 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 เป็น ร้อยเอก
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2476 เป็น พันตรี
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2477 เป็น พันโท
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2480 เป็น พันเอก
  • 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 เป็น พลตรี
  • 17 สิงหาคม พ.ศ. 2486 เป็น พลโท
  • 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 เป็น พลเรือโท พลอากาศโท

บรรดาศักดิ์

  • 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2471 เป็น ขุนเกรียงศักดิ์พิชิต ถือศักดินา 600
  • 3 มิถุนายน พ.ศ. 2473 เป็น หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต ถือศักดินา 800

เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญตรา

  • เหรียญบรมราชาภิเษกรัชกาลที่ 6
  • เหรียญจักรมาลา
  • เบญจมาภรณ์ช้างเผือก
  • เหรียญที่ระลึกฉลองพระมหานคร
  • เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
  • ตติยาภรณ์มงกุฏไทย
  • เหรีญรัตนาภรณ์ชั้นที่ 2
  • ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก
  • เหรียญชัยสมรภูมิ
  • ปฐมาภรณ์มงกุฏไทย
  • เหรียญช่วยราชการเขตภายใน
  • ปฐมาภรณ์ช้างเผือก
  • 15 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ซุยโฮ ชั้นที่ 1 จากสมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่น

อ้างอิง

  1. สองฝั่งประชาธิปไตย, "2475". สารคดีทางไทยพีบีเอส: พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2556
  2. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายยังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์
  • หนังสือ สละชีวิตเพื่อคนข้างหลัง สกุล "เกรียงศักดิ์พิชิต" จัด พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2507
  • หนังสือ ตำนานเครื่องมโหรีปี่พาทย์ และ ประชุมบทเพลงไทยเดิม พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (ค้วน จินตะคุณ) ณ สุสานหลวงวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2507