กวี สิงหะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พลเรือเอก
กวี สิงหะ
ร.น., ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว.
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 19 ธันวาคม พ.ศ. 2524
ดำรงตำแหน่งร่วมกับ
นายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
ก่อนหน้า
ถัดไป พลเรือเอก สมุทร์ สหนาวิน
สมาชิกวุฒิสภา
ดำรงตำแหน่ง
4 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
16 ธันวาคม พ.ศ. 2515 – 16 ธันวาคม พ.ศ. 2516
ผู้บัญชาการทหารเรือ
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 – 30 กันยายน พ.ศ. 2523
ก่อนหน้า พลเรือเอก อมร ศิริกายะ
ถัดไป พลเรือเอก สมุทร์ สหนาวิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2463
เสียชีวิต 25 มกราคม พ.ศ. 2531 (67 ปี)
บิดา พระฉันทพาทไพเราะ (จำรัส สิงหะ)
มารดา นางจรุงผิว ฉันทพาทไพเราะ (จรุงผิว สิงหะ)
คู่สมรส กมลนารี กมลนาวิน
บุตร 5 คน
ศิษย์เก่า โรงเรียนนายเรือ
โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ
โรงเรียนเสนาธิการผสม
วิทยาลัยการทัพเรือ
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้  ไทย
สังกัด Naval flag of ไทย กองทัพเรือไทย
ประจำการ พ.ศ. 2484 - 2523
ยศ RTN OF-9 (Admiral).svg พลเรือเอก
การยุทธ์

พลเรือเอก กวี สิงหะ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย

พล.ร.อ.กวี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก และเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2531 มีพิธีพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

การทำงาน[แก้]

พล.ร.อ.กวี สิงหะ รับราชการในสังกัดกองทัพเรือไทย จนได้รับตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2523[1][2] ต่อจากพลเรือเอกอมร ศิริกายะ ก่อนจะเกษียณอายุราชการ พล.ร.อ.กวี ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์[3] และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ในปี พ.ศ. 2523[4]

ในปี พ.ศ. 2511 พล.ร.อ.กวี ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3[5] และในปี พ.ศ. 2515 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ[แก้]

พ.ศ. 2513 - United Nations Service Medal Korea ribbon.svg เหรียญสหประชาชาติเกาหลี

พ.ศ. 2514 - Navy and Marine Corps Commendation Medal ribbon.svg เหรียญคอมเมนเดชัน (ทหารเรือ และนาวิกโยธิน)

อ้างอิง[แก้]

  1. ผู้บัญชาการทหารเรือ[ลิงก์เสีย]
  2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)
  5. "รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-10-08.
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๗, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๓ ตอนที่ ๘๐ ง หน้า ๑๓๕๒, ๑ มิถุนายน ๒๕๑๙
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ และเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับผู้กระทำความชอบมีบาดเจ็บหนึ่งครั้ง, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๗๑๐, ๓๐ สิงหาคม ๒๔๘๔
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗๐๑, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๔๑ ง หน้า ๑๙๖๗, ๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๗ ตอนที่ ๑๑๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔, ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๓
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๙๕ ง หน้า ๒๒๐๘, ๒๔ กันยายน ๒๕๐๖