ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดอุบลราชธานี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต11
คะแนนเสียง340,845 (เพื่อไทย)
197,095 (ภูมิใจไทย)
94,345 (ไทรวมพลัง)
82,700 (ไทยสร้างไทย)
51,843 (ประชาธิปัตย์)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (4)
ภูมิใจไทย (3)
ไทรวมพลัง (2)
ไทยสร้างไทย (1)
ประชาธิปัตย์ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดอุบลราชธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 11 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 11 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอุบลราชธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเลียง ไชยกาล และ นายเนย สุจิมา

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอเขื่องใน และอำเภอม่วงสามสิบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยโสธร, อำเภอลุมพุก และอำเภอฟ้าหยาด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบุ่ง, อำเภอขุหลุ และอำเภอเขมราฐ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเดชอุดม, อำเภอสุวรรณวารี และอำเภอพิบูลมังสาหาร
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอม่วงสามสิบ และอำเภอตระการพืชผล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอขุขันธ์ และอำเภอกันทรลักษ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอยโสธร, อำเภอเขื่องใน, อำเภอลุมพุก และอำเภอมหาชนะชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเดชอุดม, อำเภอโขงเจียม และอำเภอพิบูลมังสาหาร
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 6 คน (เขตละ 6 คน)
พ.ศ. 2500/1 7 คน (เขตละ 7 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 9 คน (เขตละ 9 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และอำเภอเขื่องใน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอศรีเมืองใหม่ และกิ่งอำเภอนาจะหลวย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอชานุมาน และกิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเขื่องใน และกิ่งอำเภอหัวตะพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอศรีเมืองใหม่ และกิ่งอำเภอนาจะหลวย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอชานุมาน, กิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และอำเภอเขื่องใน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย และกิ่งอำเภอตาลสุม
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน และกิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอตาลสุม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอโพธิ์ไทร
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอสำโรง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา และอำเภอหัวตะพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, กิ่งอำเภอตาลสุม และกิ่งอำเภอโพธิ์ไทร
12 คน (4 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอสำโรง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา และอำเภอหัวตะพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, กิ่งอำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอลืออำนาจ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, กิ่งอำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, อำเภอสิรินธร และกิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอลืออำนาจ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, กิ่งอำเภอนาเยีย และกิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอตาลสุม, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร, กิ่งอำเภอนาตาล และกิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, กิ่งอำเภอนาเยีย, กิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม และกิ่งอำเภอน้ำขุ่น
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอตาลสุม, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร, กิ่งอำเภอนาตาล และกิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลแจระแม ตำบลปทุม ตำบลกุดลาด ตำบลกระโสบ และตำบลไร่น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอดอนมดแดง, อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลหัวเรือและตำบลขี้เหล็ก), อำเภอตาลสุม (เฉพาะตำบลนาคายและตำบลจิกเทิง) และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขื่องในและอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองปอน ตำบลหนองบ่อ และตำบลขามใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบและอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลโคกก่อง ตำบลบอน และตำบลสำโรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตระการพืชผลและอำเภอกุดข้าวปุ้น
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอศรีเมืองใหม่ (เฉพาะตำบลนาเลิน) และกิ่งอำเภอนาตาล
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่ (ยกเว้นตำบลนาเลิน), อำเภอตาลสุม (ยกเว้นตำบลนาคายและตำบลจิกเทิง), อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อและตำบลช่องเม็ก) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเว ตำบลทรายมูล และตำบลโพธิ์ศรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเว ตำบลทรายมูล และตำบลโพธิ์ศรี), กิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์ และกิ่งอำเภอนาเยีย
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบุณฑริก, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อและตำบลช่องเม็ก)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลโคกก่อง ตำบลบอน และตำบลสำโรง), อำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) และกิ่งอำเภอน้ำขุ่น
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)
11 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตาลสุม, อำเภอดอนมดแดง และอำเภอเหล่าเสือโก้ก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอโขงเจียม, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร และอำเภอนาตาล
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, อำเภอสำโรง, อำเภอน้ำขุ่น และอำเภอทุ่งศรีอุดม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอนาเยีย และอำเภอสว่างวีระวงศ์
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี [(เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลปทุม ตำบลไร่น้อย ตำบลกุดลาด ตำบลกระโสบ และตำบลขามใหญ่ (ในเขตเทศบาลตำบลขามใหญ่)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอดอนมดแดง, อำเภอเหล่าเสือโก้ก และอำเภอตาลสุม
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี [(เฉพาะตำบลแจระแม ตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลหนองบ่อ ตำบลหัวเรือ ตำบลขี้เหล็ก และตำบลขามใหญ่ (ในเทศบาลตำบลอุบล)] และอำเภอเขื่องใน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบ และอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลโคกก่องและตำบลสำโรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตระการพืชผล และอำเภอกุดข้าวปุ้น
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอโพธิ์ไทร และอำเภอนาตาล
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอโขงเจียม, อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเวและตำบลทรายมูล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเวและตำบลทรายมูล), อำเภอสว่างวีระวงศ์ และอำเภอนาเยีย
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบุณฑริก, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอน้ำขุ่น, อำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลโคกก่องและตำบลสำโรง) และอำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)
11 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตำบลกระโสบและตำบลกุดลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขื่องในและอำเภอม่วงสามสิบ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวารินชำราบและอำเภอนาเยีย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเหล่าเสือโก้ก, อำเภอตระการพืชผล และอำเภอกุดข้าวปุ้น
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอนาตาล, อำเภอโพธิ์ไทร และอำเภอศรีเมืองใหม่ (เฉพาะตำบลนาเลินและตำบลหนามแท่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอโขงเจียม, อำเภอตาลสุม, อำเภอดอนมดแดง, อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลกระโสบและตำบลกุดลาด) และอำเภอศรีเมืองใหม่ (ยกเว้นตำบลนาเลินและตำบลหนามแท่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสว่างวีระวงศ์, อำเภอพิบูลมังสาหาร และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลฝางคำ ตำบลคันไร่ และตำบลนิคมสร้างตนเองลำโดมน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอนาจะหลวย, อำเภอบุณฑริก และอำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลฝางคำ ตำบลคันไร่ และตำบลนิคมสร้างตนเองลำโดมน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอน้ำขุ่น, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอสำโรง และอำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง)
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลขี้เหล็ก ตำบลหัวเรือ และตำบลไร่น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขื่องในและอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลขี้เหล็ก ตำบลหัวเรือ และตำบลไร่น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเหล่าเสือโก้ก, อำเภอดอนมดแดง และอำเภอตาลสุม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวารินชำราบและอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลบอน ตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอตระการพืชผลและอำเภอกุดข้าวปุ้น
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเขมราฐ, อำเภอนาตาล และอำเภอโพธิ์ไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอโขงเจียม, อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเวและตำบลทรายมูล)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนาเยีย, อำเภอสว่างวีระวงศ์ และอำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเวและตำบลทรายมูล)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอนาจะหลวย, อำเภอบุณฑริก และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอน้ำยืน, อำเภอน้ำขุ่น, อำเภอทุ่งศรีอุดม, อำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) และอำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลบอน ตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)
11 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์
นายเลียง ไชยกาล
นายเนย สุจิมา

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

[แก้]
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายฟอง สิทธิธรรม นายเลียง ไชยกาล นายน้อม วนรมย์
2 นายทิม ภูริพัฒน์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายฟอง สิทธิธรรม นายสุวิชช์ จิตตะยะโสธร
3 นายฟอง สิทธิธรรม นายเลียง ไชยกาล นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายนาตร มนตเสวี
4 นายเลียง ไชยกาล ขุนบุรัสการกิติคดี (เสียชีวิต) นายบุญมา เกษมวัน
นายบุญมา เกษมวัน (แทนขุนบุรัสการกิติคดี) นายสุดใจ ศุภสร

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

[แก้]
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายผดุง โกศัลวัตร
นายฟอง สิทธิธรรม
นายเลียง ไชยกาล
นายยงยุทธ พึ่งภพ
พ.ศ. 2492 นางอรพินท์ ไชยกาล (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายทองพูน อาจทะขันธ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

[แก้]
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายเลียง ไชยกาล
2 นายยงยุทธ พึ่งภพ
3 นางอรพินท์ ไชยกาล
4 นายดิเรก มณีรัตน์
5 นายทิม ภูริพัฒน์
6 นายผัน บุญชิต

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายทิม ภูริพัฒน์ นายทิม ภูริพัฒน์
นายฟอง สิทธิธรรม
นายกลิ่น ปลั่งนิล นายวีระ รมยะรูป
นายทองพูน อาจธะขันธ์ นางสาวอรอินทร์ ภูริพัฒน์
นายเจียม โชติรัษฎ์ นายนาถ เงินทาบ
นายเลียง ไชยกาล นายเลียง ไชยกาล
นายผัน บุญชิต นายผัน บุญชิต
นางอรพินท์ ไชยกาล (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายยงยุทธ พึ่งภพ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายดิเรก มณีรัตน์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายกลิ่น ปลั่งนิล (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายฟอง การินทร์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ขุนวรวาทพิสุทธิ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายสุวิชช์ จิตตะยะโสธร (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคแนวประชาธิปไตย
      พรรคอิสระ
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายเสรี สุชาตะประคัลภ์
2 นายฟอง สิทธิธรรม
3 นายทองมาก จันทะลือ
4 นายยิ่ง สิทธิธรรม
5 นายสมนึก ทองรุ่งโรจน์
6 นายวิชัย โกมลวิชญ์
7 นายบุญเย็น วอทอง
8 นายวิชัย เสวะมาตย์
9 นายประทีป ทองคำใส

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

[แก้]
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธรรม
      พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายประวิทย์ ศรีธัญรัตน์ นายเฉลิม สุขเสริม
นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ นายโกศล มารมย์
นายประทีป ทองคำใส นายไพฑูรย์ โหตระไวศยะ
2 นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ ร้อยตำรวจโท ณรงค์ เทวคุปต์
นายเพียร พุ่มจันทร์ นายสุทวิช สุพรรณ
นายสมาน งามสนิท นายเชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์
3 นายสุทัศน์ เงินหมื่น นายประสิทธิ์ จันทวารา
นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
นายวิชัย เสวะมาตย์ นายยิ่ง สิทธิธรรม

ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522

[แก้]
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาราษฎร์
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช
นายไพฑูรย์ โหตระไวศยะ (เสียชีวิต)
นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (แทนนายไพฑูรย์)
พันตำรวจตรี ยุทธนา พรสวรรค์
2 ร้อยตำรวจโท ณรงค์ เทวคุปต์
นายผัน บุญชิต
นายเชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์
3 นายวารินทร์ ศรีแย้ม
นายประสิทธิ์ จันทวารา
4 นายดุสิต โสภิตชา
นายไชยพจน์ ภู่กำชัย

ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ
นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ
นายมนต์ชัย โควสุรัตน์
2 นายผัน บุญชิต
นายตุ่น จินตะเวช
นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
3 นายธนา เมตตาริกานนท์
นายสุทัศน์ เงินหมื่น
นายสุวัฒน์ ศิริอำนาจ
4 นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
นายสมนึก ทองรุ่งโรจน์

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

[แก้]
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคราษฎร
      พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
      พรรคปวงชนชาวไทย
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคพลังธรรม
      พรรคชาติพัฒนา
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ
นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ
นายวิทยา ขันอาสา นายวิทยา ขันอาสา นายธำรงค์ ไทยมงคล นายวิทยา ขันอาสา
2 นายผัน บุญชิต นายตุ่น จินตะเวช นายตุ่น จินตะเวช นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
นายอิสสระ สมชัย นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ นายอิสสระ สมชัย นายอิสสระ สมชัย
นายดำรงค์ บุญชิต นายปัญญา จินตะเวช นายปัญญา จินตะเวช นายโอวาท จุลโคตร
3 นายสนิท จันทรวงศ์ นายชัยพร ทองประเสริฐ นายสนิท จันทรวงศ์
นายธีระชัย ศิริขันธ์ นายสุทัศน์ เงินหมื่น
นายธนา เมตตาริกานนท์ นายวิฑูรย์ นามบุตร
4 นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ พันตรี พูนศักดิ์ พสุนนท์ นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ นายสุรศักดิ์ บัวขาว นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ นายสุรศักดิ์ บัวขาว
นายดุสิต โสภิตชา นายดุสิต โสภิตชา
  • สำหรับการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 เขตเลือกตั้งที่ 3 เป็นของจังหวัดอำนาจเจริญ

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคนำไทย
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายเกรียง กัลป์ตินันท์ นายเกรียง กัลป์ตินันท์
นายธำรงค์ ไทยมงคล นายสุพล ฟองงาม
นายตุ่น จินตะเวช
2 นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ
นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
นายปัญญา จินตะเวช
3 นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ
นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
นายอิสสระ สมชัย
4 นายวิฑูรย์ นามบุตร
นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคราษฎรพรรคมหาชน
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายเกรียง กัลป์ตินันท์
( / / เลือกตั้งใหม่)
นายเกรียง กัลป์ตินันท์
2 นายสมบัติ รัตโน
( / เลือกตั้งใหม่)
นายสมบัติ รัตโน
3 นายวิฑูรย์ นามบุตร นายวิฑูรย์ นามบุตร
( / เลือกตั้งใหม่)
4 นายสุพล ฟองงาม
( / เลือกตั้งใหม่)
นายสุพล ฟองงาม
5 นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์
6 นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายอุดร ทองประเสริฐ
7 นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
8 นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ นายอิสสระ สมชัย
9 นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์
10 นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ
นายศักดิ์ชัย จินตะเวช
(แทนนายกิตติพงษ์ / / )
นายวิทยา บันทุปา
(แทนนายศักดิ์ชัย / )
นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ
(แทนนายวิทยา)
11 นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ นายตุ่น จินตะเวช

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์
นายวุฒิพงษ์ นามบุตร
นายศุภชัย ศรีหล้า
2 นายสุทธิชัย จรูญเนตร
นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายอุดร ทองประเสริฐ
(แทนนายรัฐกิตต์)
นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ
3 นายตุ่น จินตะเวช
นายศักดิ์ชัย จินตะเวช
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางอุดร จินตะเวช
(แทนนายศักดิ์ชัย)
นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์
4 นายสุพล ฟองงาม
นายอิสสระ สมชัย

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย
      พรรคเพื่อไทรวมพลัง → พรรคไทรวมพลัง
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคไทยสร้างไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์
2 นายศุภชัย ศรีหล้า นายวุฒิพงษ์ นามบุตร
3 นายวุฒิพงษ์ นามบุตร นางสาวกิตติ์ธัญญา วาจาดี นางพิมพกาญจน์ พลสมัคร
4 นายสุพล ฟองงาม นายเอกชัย ทรงอำนาจเจริญ นางสาวกิตติ์ธัญญา วาจาดี
5 นายสุทธิชัย จรูญเนตร นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ นายสุทธิชัย จรูญเนตร
6 นายพิสิษฐ์ สันตพันธุ์ นายธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาวธัญธารีย์ สันตพันธุ์
7 นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ นางสาวสุดารัตน์ พิทักษ์พรพัลลภ
8 นางสาวบุณย์ธิดา สมชัย นางสาวแนน บุณย์ธิดา สมชัย
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาวแนน บุณย์ธิดา สมชัย
9 นายปัญญา จินตะเวช นายประภูศักดิ์ จินตะเวช นางรำพูล ตันติวณิชชานนท์
10 นายสมคิด เชื้อคง นายสมศักดิ์ บุญประชม
11 นายตุ่น จินตะเวช ยุบเขต 11 นางสาวตวงทิพย์ จินตะเวช

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]