สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย
จังหวัดเลย มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 350 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์[แก้]
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเลยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายบุญมา เสริฐศรี
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดเลย คือ นางเอื้ออารี อุดมสิทธิ์ (จากการเลือกตั้งเดือนธันวาคม พ.ศ. 2500)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ทิมสุวรรณ (4 คน) ได้แก่ นายธนเทพ ทิมสุวรรณ นางนันทนา ทิมสุวรรณ นายศรัณย์ ทิมสุวรรณ และนายธนยศ ทิมสุวรรณ
เขตการเลือกตั้ง[แก้]
การเลือกตั้ง | เขตการเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และ กิ่งอำเภอภูหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, กิ่งอำเภอผาขาว และ กิ่งอำเภอนาด้วง |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และ กิ่งอำเภอภูหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง และ กิ่งอำเภอผาขาว |
||
พ.ศ. 2535/2 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง และ กิ่งอำเภอผาขาว |
||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง, อำเภอผาขาว และ กิ่งอำเภอเอราวัณ | ||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอนาด้วง (เฉพาะตำบลท่าสะอาดและตำบลท่าสวรรค์) และ กิ่งอำเภอเอราวัณ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภูหลวง, อำเภอภูกระดึง, อำเภอผาขาว, อำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลผาบิ้ง ตำบลหนองหญ้าปล้อง และตำบลโคกขมิ้น) และกิ่งอำเภอหนองหิน · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาแห้ว, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอภูเรือ และอำเภอวังสะพุง (ยกเว้นตำบลผาบิ้ง ตำบลหนองหญ้าปล้อง และตำบลโคกขมิ้น) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียงคาน, อำเภอปากชม, อำเภอท่าลี่ และอำเภอนาด้วง (เฉพาะตำบลนาด้วง และตำบลนาดอกคำ) |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง, อำเภอผาขาว, อำเภอเอราวัณ และอำเภอหนองหิน |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอท่าลี่ และอำเภอภูเรือ (เฉพาะตำบลสานตมและตำบลท่าศาลา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอผาขาว, อำเภอภูกระดึง, อำเภอภูหลวง, อำเภอหนองหิน และอำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลหนองหญ้าปล้อง ตำบลผาบิ้ง และตำบลโคกขมิ้น) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว, อำเภอภูเรือ (ยกเว้นตำบลสานตมและตำบลท่าศาลา) และอำเภอวังสะพุง (ยกเว้นตำบลหนองหญ้าปล้อง ตำบลผาบิ้ง และตำบลโคกขมิ้น) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียงคาน, อำเภอปากชม, อำเภอนาด้วง และอำเภอเอราวัณ |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอปากชม, อำเภอนาด้วง และอำเภอเอราวัณ (เฉพาะตำบลเอราวัณและตำบลผาอินทร์แปลง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภูกระดึง, อำเภอภูหลวง, อำเภอหนองหิน, อำเภอผาขาว, อำเภอเอราวัณ (เฉพาะตำบลทรัพย์ไพวัลย์และตำบลผาสามยอด) และอำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลโคกขมิ้น ตำบลหนองหญ้าปล้อง ตำบลผาน้อย ตำบลศรีสงคราม ตำบลวังสะพุง และตำบลผาบิ้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาแห้ว, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอภูเรือ, อำเภอท่าลี่, อำเภอเชียงคาน และอำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลหนองงิ้ว ตำบลเขาหลวง ตำบลทรายขาว และตำบลปากปวน) |
![]() |
3 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2492[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายบุญมา เสริฐศรี |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายเฉลิม ศรีประเสริฐ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | พระยาศรีนครชัย (ประวงษ์ อมาตยกุล) |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | ร้อยตำรวจโท สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายทองหนัก สุวรรณสิงห์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายมา เสริฐศรี |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | ร้อยตำรวจตรี สัมฤทธิ์ อินทรตระกูล |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]
- พรรคเสรีประชาธิปไตย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายบัวพัน ไชยแสง |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นางเอื้ออารี อุดมสิทธิ์ |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | นายประชา บุณยเนตร | นายสะดวก เชื้อบุญมี |
ชุดที่ 11–15; พ.ศ. 2518–2529[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายปรีชา เพ็ชรสิงห์ | นายประดิษฐ์ เสริฐศรี | นายชาญยุทธ สุทธิรักษ์ |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | พันตำรวจเอก กฤช สังขทรัพย์ | นายประชา บุณยเนตร | นายวัชรินทร์ เกตะวันดี |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | พันตำรวจเอก กฤช สังขทรัพย์ (เสียชีวิต) | นายสะดวก เชื้อบุญมี | |
นายทศพล สังขทรัพย์ (แทนพันตำรวจเอก กฤช) | ||||
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายทศพล สังขทรัพย์ | นายวัชรินทร์ เกตะวันดี | |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข | นายประชา บุณยเนตร |
ชุดที่ 16–20; พ.ศ. 2531–2539[แก้]
- พรรคปวงชนชาวไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก | นายประชา บุณยเนตร | นายพินิจ สิทธิโห | นายทศพล สังขทรัพย์ |
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก | นายวัชรินทร์ เกตะวันดี | นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข | |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก | |||
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นายสมศักดิ์ แสงเจริญรัตน์ | นายพินิจ สิทธิโห | ||
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นางพวงเพ็ชร ชุนละเอียด | นายธนเทพ ทิมสุวรรณ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]
เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายทศพล สังขทรัพย์ | |
2 | นายธนเทพ ทิมสุวรรณ | นางนันทนา ทิมสุวรรณ |
3 | นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข ( ![]() |
นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข |
4 | นายสุวิชญ์ โยทองยศ | นางจันทร์เพ็ญ แสงเจริญรัตน์ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข |
นางพัฒนา สังขทรัพย์ | |
2 | นางนันทนา ทิมสุวรรณ |
นางเปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข | นายเลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล |
2 | นางนันทนา ทิมสุวรรณ | นายศรัณย์ ทิมสุวรรณ |
3 | นางเปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข | นายธนยศ ทิมสุวรรณ |
4 | นายวันชัย บุษบา | ยุบเขต 4 |
รูปภาพ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งที่แต่ละจังหวัดจะพึงมี และจำนวนเขตเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (10 ก): 2. 24 Jan 2019.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดเลย เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน