สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดตราด | |
![]() เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 1 |
คะแนนเสียง | 47,046 (ก้าวไกล) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ประชาชน (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดตราด มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 1 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดตราดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกิมทะ นิรันต์พานิช[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 5 สมัย ได้แก่ หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) และนายธีระ สลักเพชร
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | ![]() |
1 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | |||
พ.ศ. 2518 | |||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตราด (ยกเว้นตำบลหนองโสน), อำเภอคลองใหญ่ และกิ่งอำเภอเกาะกูด · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองตราด (เฉพาะตำบลหนองโสน), อำเภอเขาสมิง, อำเภอบ่อไร่, อำเภอแหลมงอบ และกิ่งอำเภอเกาะช้าง |
2 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | ![]() |
1 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | |||
พ.ศ. 2554 | |||
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | |||
พ.ศ. 2566 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายกิมทะ นิรันต์พานิช |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายเฉลา เตาลานนท์ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) |
ชุดที่ 8–20; พ.ศ. 2500–2539
[แก้]- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคประชากรไทย
- พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531) → พรรคชาติไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติพัฒนา
- พรรคเสรีธรรม
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | นายประชุม รัตนเพียร |
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายประชุม รัตนเพียร |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | เรืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายประชุม รัตนเพียร |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | พันเอก สาคร กิจวิริยะ |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายธนิต ไตรวุฒิ |
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายธนิต ไตรวุฒิ |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายธนิต ไตรวุฒิ |
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นายบรรลุ สุทธิวารี |
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายธีระ สลักเพชร |
ชุดที่ 21; พ.ศ. 2544
[แก้]เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 |
1 | นายบุญส่ง ไข่เกษ |
2 | นายธีระ สลักเพชร |
ชุดที่ 22–26; พ.ศ. 2548–2566
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 22 | พ.ศ. 2548 | นายธีระ สลักเพชร |
ชุดที่ 23 | พ.ศ. 2550 | |
ชุดที่ 24 | พ.ศ. 2554 | นายธีระ สลักเพชร (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
ชุดที่ 25 | พ.ศ. 2562 | นายศักดินัย นุ่มหนู |
ชุดที่ 26 | พ.ศ. 2566 | นายศักดินัย นุ่มหนู |
รูปภาพ
[แก้]-
นายประชุม รัตนเพียร
-
นายธีระ สลักเพชร
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดตราด เก็บถาวร 2011-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน