สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดสุพรรณบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสุพรรณบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายมนูญ บริสุทธิ์[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช และกิ่งอำเภอด่านช้าง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอด่านช้าง
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง และกิ่งอำเภอหนองหญ้าไซ
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง และอำเภอหนองหญ้าไซ
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสองพี่น้อง, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอเมืองสุพรรณบุรี (ยกเว้นตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี) และอำเภออู่ทอง (ยกเว้นตำบลบ้านโข้ง ตำบลพลับพลาไชย ตำบลดอนคา และตำบลหนองโอ่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง, อำเภอหนองหญ้าไซ, อำเภอดอนเจดีย์, อำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลบ้านโข้ง ตำบลพลับพลาไชย ตำบลดอนคา และตำบลหนองโอ่ง) และอำเภอเมืองสุพรรณบุรี (เฉพาะตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี)
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี (ยกเว้นตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลเจดีย์ ตำบลกระจัน ตำบลหนองโอ่ง ตำบลดอนคา ตำบลพลับพลาไชย และตำบลบ้านโข้ง), อำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองหญ้าไซ ตำบลทัพหลวง และตำบลหนองราชวัตร) และอำเภอเมืองสุพรรณบุรี (เฉพาะตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลหัวโพธิ์ ตำบลบางพลับ ตำบลบ้านกุ่ม ตำบลบ้านช้าง ตำบลบางตาเถร ตำบลบางตะเคียน ตำบลบางเลน และตำบลต้นตาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลหนองบ่อ ตำบลบ่อสุพรรณ ตำบลทุ่งคอก ตำบลศรีสำราญ ตำบลสองพี่น้อง ตำบลเนินพระปรางค์ และตำบลดอนมะนาว) และอำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลอู่ทอง ตำบลจรเข้สามพัน ตำบลยุ้งทะลาย ตำบลบ้านดอน ตำบลดอนมะเกลือ ตำบลสระพังลาน และตำบลสระยายโสม)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองโพธิ์ ตำบลแจงงาม และตำบลหนองขาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอด่านช้างและอำเภอเดิมบางนางบวช
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลไร่รถ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (ยกเว้นตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออู่ทอง, อำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ) และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลสระกระโจม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลดอนเจดีย์ ตำบลหนองสาหร่าย และตำบลทะเลบก) และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอหนองหญ้าไซ (ยกเว้นตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง และอำเภอหนองหญ้าไซ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรีและอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลไร่รถ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (ยกเว้นตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออู่ทอง, อำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ) และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลสระกระโจม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลดอนเจดีย์ ตำบลหนองสาหร่าย และตำบลทะเลบก) และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอหนองหญ้าไซ (ยกเว้นตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรีและอำเภอบางปลาม้า (ยกเว้นตำบลวังน้ำเย็น ตำบลมะขามล้ม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลบางใหญ่ ตำบลกฤษณา และตำบลสาลี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสองพี่น้อง, อำเภออู่ทอง (ยกเว้นตำบลอู่ทอง ตำบลหนองโอ่ง ตำบลดอนคา ตำบลพลับพลาไชย และตำบลบ้านโข้ง) และอำเภอบางปลาม้า (เฉพาะตำบลวังน้ำเย็น ตำบลมะขามล้ม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลบางใหญ่ ตำบลกฤษณา และตำบลสาลี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลไร่รถ ตำบลดอนเจดีย์ และตำบลหนองสาหร่าย) และอำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลอู่ทอง ตำบลหนองโอ่ง ตำบลดอนคา ตำบลพลับพลาไชย และตำบลบ้านโข้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอหนองหญ้าไซ และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลทะเลบกและตำบลสระกระโจม)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (ยกเว้นตำบลหนองบ่อ ตำบลบ่อสุพรรณ และตำบลทุ่งคอก)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออู่ทองและอำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลหนองบ่อ ตำบลบ่อสุพรรณ และตำบลทุ่งคอก)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอหนองหญ้าไซ (ยกเว้นตำบลหนองราชวัตรและตำบลหนองหญ้าไซ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองราชวัตรและตำบลหนองหญ้าไซ)
5 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายมนูญ บริสุทธิ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายสว่าง สนิทพันธ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายสว่าง สนิทพันธ์ (เสียชีวิต ปี 2487)
นายแสวง สนิทพันธ์ (แทนนายสว่าง)

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489[แก้]

เขต มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 หลวงชายภูเบศร์ นายกมล ชลศึกษ์
2 นายสนิท บริสุทธิ์

ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 ขุนวีระประศาสน์ นายขวัญชัย ภมรพล
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 เรือเอก พระสาครบุรานุรักษ์ นายสานนท์ สายสว่าง

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายพีร์ บุนนาค นายทองหยด จิตตะวีระ นายถวิล วัฎฎานนท์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายพีร์ บุนนาค นายทองหยด จิตตะวีระ นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายสุจิตต์ ศิลาเจริญ
2 นายทองหยด จิตตะวีระ
3 นายวิภาศ อินสว่าง
4 นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535[แก้]

      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสหประชาธิปไตย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ นายทองหยด จิตตวีระ นายวิรัช วัฒนไกร นายประภัตร โพธสุธน นายพีร์ บุนนาค
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายบรรหาร ศิลปอาชา นายทองหยด จิตตวีระ นายไพศาล แสนใจงาม นายสกนธ์ วัชราไทย
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายชุมพล ศิลปอาชา นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ นายประมวล สุวรรณเกิด
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายบรรหาร ศิลปอาชา นายจองชัย เที่ยงธรรม
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายจองชัย เที่ยงธรรม
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายจองชัย เที่ยงธรรม
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายบรรหาร ศิลปอาชา
นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
นายชุมพล ศิลปอาชา นายชุมพล ศิลปอาชา
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
2 นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
นายประภัตร โพธสุธน
นายจองชัย เที่ยงธรรม

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายวราวุธ ศิลปอาชา
2 นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
3 นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
4 นายบรรหาร ศิลปอาชา
5 นายประภัตร โพธสุธน นายยุทธนา โพธสุธน
6 นายจองชัย เที่ยงธรรม นายเสมอกัน เที่ยงธรรม

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 [3]
1 นายบรรหาร ศิลปอาชา (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นายนพดล มาตรศรี (แทนนายบรรหาร)
นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นายนิติวัฒน์ จันทร์สว่าง (แทนนายณัฐวุฒิ)
นายวราวุธ ศิลปอาชา (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นายชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ (แทนนายวราวุธ)
2 นายเสมอกัน เที่ยงธรรม (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นางสาวพัชรี โพธสุธน (แทนนายเสมอกัน)
นายยุทธนา โพธสุธน (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) นายเจรจา เที่ยงธรรม (แทนนายยุทธนา)

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566[แก้]

      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสรชัด สุจิตต์
2 นายชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
3 นายนพดล มาตรศรี นายประภัตร โพธสุธน นายนพดล มาตรศรี
4 นางสาวพัชรี โพธสุธน นายเสมอกัน เที่ยงธรรม
5 นายสหรัฐ กุลศรี ยุบเขต 5 นายประภัตร โพธสุธน

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง,เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๔ ก, ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๙

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]