ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดยะลา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง107,369 (ประชาชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชาติ (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดยะลา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดยะลามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสง่า สายศิลป์[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต) และกิ่งอำเภอกรงปินัง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอกรงปินัง และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอกรงปินัง และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี) และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลตาชี ตำบลยะหา และตำบลบาโงยซิแน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอรามัน, อำเภอกาบัง, อำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี) และอำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลตาชี ตำบลยะหา และตำบลบาโงยซิแน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกรงปินัง, อำเภอบันนังสตา, อำเภอธารโต และอำเภอเบตง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายสง่า สายศิลป์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายแวและ เบญอาบัชร์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายวิไล เบญจลักษณ์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายประสาท ไชยะโท
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายสาลี กูลณรงค์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายประสาท ไชยะโท

ชุดที่ 8–12; พ.ศ. 2500–2519

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายประสาท ไชยะโท
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายประสาท ไชยะโท
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายอุสมาน อุเซ็ง

ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535

[แก้]
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคสยามประชาธิปไตย → พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายเฉลิม เบ็ญหาวัน นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา นายไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา นายไพศาล ยิ่งสมาน
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง นายไพศาล ยิ่งสมาน

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
2 นายไพศาล ยิ่งสมาน นายอับดุลการิม เด็งระกีนา
3 นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง นายณรงค์ ดูดิง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
นายอับดุลการิม เด็งระกีนา
นายซูการ์โน มะทา

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ นายอับดุลการิม เด็งระกีนา นายณรงค์ ดูดิง
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ นายซูการ์โน มะทา นายอับดุลอายี สาแม็ง
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายสุไลมาน บือแนปีแน

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]