สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสมุทรปราการ
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต8
คะแนนเสียง372,740 (ก้าวไกล)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งก้าวไกล (8)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพนิดา มงคลสวัสดิ์
รัชนก สุขประเสริฐ
พิชัย แจ้งจรรยาวงศ์
วุฒินันท์ บุญชู
นิตยา มีศรี
วีรภัทร คันธะ
บุญเลิศ แสงพันธุ์
ตรัยวรรธน์ อิ่มใจ

จังหวัดสมุทรปราการ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 8 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสมุทรปราการมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเขียน กาญจนพันธุ์[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดงและอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน ตำบลแหลมฟ้าผ่า ตำบลนาเกลือ ตำบลบ้านคลองสวน ตำบลในคลองบางปลากด และตำบลปากคลองบางปลากด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ)
4 คน
(2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน) และกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง ตำบลแพรกษา ตำบลท้ายบ้าน และตำบลปากน้ำ) และกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ และตำบลสำโรงเหนือ)
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน),
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)
6 คน
(2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ) และกิ่งอำเภอบางเสาธง
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน และตำบลท้ายบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษาใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ) และกิ่งอำเภอบางเสาธง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ [เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลปากน้ำ ตำบลบางด้วน และตำบลบางเมืองใหม่ (นอกเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ [เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ (ในเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ) ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์, อำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจากและตำบลบางครุ) และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรงและตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลแพรกษาใหม่และตำบลแพรกษา) และกิ่งอำเภอบางเสาธง (เฉพาะตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปูและตำบลบางปูใหม่) และกิ่งอำเภอบางเสาธง (ยกเว้นตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจากและตำบลบางครุ)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน และตำบลบางปูใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลสำโรงเหนือ ตำบลเทพารักษ์ ตำบลแพรกษาใหม่ และตำบลแพรกษา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลหนองปรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู), อำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลหนองปรือ) และกิ่งอำเภอบางเสาธง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจาก ตำบลบางครุ และตำบลตลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจาก ตำบลบางครุ และตำบลตลาด)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางพลี, อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางบ่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระประแดง และอำเภอพระสมุทรเจดีย์
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 และ เขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ และตำบลแพรกษาใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลสำโรงเหนือ ตำบลเทพารักษ์ และตำบลแพรกษา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลหนองปรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางเสาธง, อำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลหนองปรือ) และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจากและตำบลบางครุ)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจากและตำบลบางครุ)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลแพรกษาใหม่ ตำบลบางปูใหม่ และตำบลบางปู)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจาก)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลปากน้ำ ตำบลบางเมือง และตำบลท้ายบ้าน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลท้ายบ้านใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางปูใหม่ และตำบลบางปู)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางพลี (เฉพาะตำบลบางแก้วและตำบลบางพลีใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลแพรกษาใหม่), อำเภอบางพลี (ยกเว้นตำบลบางแก้วและตำบลบางพลีใหญ่) และอำเภอบางเสาธง (เฉพาะตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระประแดง (ยกเว้นตำบลบางจาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพระสมุทรเจดีย์และอำเภอพระประแดง (เฉพาะตำบลบางจาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอบางบ่อและอำเภอบางเสาธง (ยกเว้นตำบลศีรษะจรเข้น้อย)
8 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายเขียน กาญจนพันธุ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ขุนชำนิอนุสาส์น (เส่ง เลาหะจินดา)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายชอ้อน อำพล
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายอรุณ พันธ์ฟัก
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเผด็จ ศิวะทัต

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเผด็จ ศิวะทัต
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสุทิน กลับเจริญ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคสหประชาไทย
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายบุญถม เย็นมะโนช
2 นายสุทิน กลับเจริญ

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคประชากรไทย
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายสนิท กุลเจริญ นายสนิท กุลเจริญ
นายสุธีร์ อัศวาณิชย์ นายสมรรค ศิริจันทร์
นายวัฒนา อัศวเหม นายวัฒนา อัศวเหม

ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายวัฒนา อัศวเหม นายวัฒนา อัศวเหม
นายสนิท กุลเจริญ
2 นายประเสริฐ สุขวัฒน์ ว่าที่ร้อยตรี ณัฐ ศรีเฟื่องฟุ้ง
นายสมรรค ศิริจันทร์

ชุดที่ 16; พ.ศ. 2531[แก้]

      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคประชากรไทย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
1 นายวัฒนา อัศวเหม
นายสนิท กุลเจริญ
นายสมชาย สาดิษฐ์
2 นายสมพร อัศวเหม
นายประเสริฐ สุขวัฒน์

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชากรไทยพรรคราษฎร (พ.ศ. 2541)
เขต ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายวัฒนา อัศวเหม นายวัฒนา อัศวเหม
นายสนิท กุลเจริญ ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง นายพูนผล อัศวเหม
นายประดิษฐ์ ยั่งยืน นายสมชาย สาดิษฐ์ นายสนิท กุลเจริญ
2 พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์ นายประเสริฐ สุขวัฒน์ นายประดิษฐ์ ยั่งยืน พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์
นายสมพร อัศวเหม นายสมพร อัศวเหม
นายมั่น พัธโนทัย นายมั่น พัธโนทัย

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2544)พรรคมหาชน
เขต ชุดที่ 21[3] พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22[4] พ.ศ. 2548
1 ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์
2 นายประเสริฐ เด่นนภาลัย
3 นายประชา ประสพดี ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
4 นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
5 นางสลิลทิพย์ ชัยสดมภ์
6 นางสาวเรวดี รัศมิทัต
( / เลือกตั้งใหม่)
นางสาวเรวดี รัศมิทัต
7 - นายประชา ประสพดี

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23[5] พ.ศ. 2550
1 นางอนุสรา ยังตรง
นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย
นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางสาวสรชา วีรชาติวัฒนา
(แทนนายสงคราม / )
นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์
(แทนนางสาวสรชา)
2 นายนที สุทินเผือก
นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
3 นายประชา ประสพดี
นางนฤมล ธารดำรงค์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ นายอัครวัฒน์ อัศวเหม
2 นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย นายยงยุทธ สุวรรณบุตร
3 นางอนุสรา ยังตรง นางสาวภริม พูลเจริญ
4 นายวรชัย เหมะ นายวุฒินันท์ บุญชู
5 นางสลิลทิพย์ สุขวัฒน์ นายกรุงศรีวิไล สุทินเผือก
( / ถูกศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งสั่งพ้นจากตำแหน่ง / เลือกตั้งซ่อม)
6 นางสาวเรวดี รัศมิทัต นายฐาปกรณ์ กุลเจริญ
7 นายประชา ประสพดี นางสาวไพลิน เทียนสุวรรณ
(ลาออก / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อม)

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566[แก้]

      พรรคก้าวไกล
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นางสาวพนิดา มงคลสวัสดิ์
2 นางสาวรัชนก สุขประเสริฐ
3 นายพิชัย แจ้งจรรยาวงศ์
4 นายวุฒินันท์ บุญชู
5 นางสาวนิตยา มีศรี
6 นายวีรภัทร คันธะ
7 นายบุญเลิศ แสงพันธุ์
8 นายตรัยวรรธน์ อิ่มใจ

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
  3. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  4. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  5. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]