จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ74.31%
  First party Second party
 
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
พรรค เพื่อไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 4 3
ที่นั่งที่ชนะ 7 3
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 3 Steady
คะแนนเสียง 498,876 274,089
% 55.82 30.67

  Third party Fourth party
 
ภาพถ่ายเบื้องหลัง การบันทึกเทป โครงการ ไทยเข้มแข็ง (The Official Site of The Prim - Flickr - Abhisit Vejjajiva (49).jpg
Wannarat channukul.jpg
พรรค ชาติไทยพัฒนา ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
ที่นั่งก่อนหน้า 2 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 1 ลดลง 2
คะแนนเสียง 34,489 44,074
% 3.86 4.93

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 11 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
เพื่อไทย 498,876 55.82% เพิ่มขึ้น13.67%
ประชาธิปัตย์ 274,089 30.67% เพิ่มขึ้น1.72%
อื่น ๆ 120,763 13.51% ลดลง15.39%
ผลรวม 893,728 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
เพื่อไทย
  
55.82%
ประชาธิปัตย์
  
30.67%
อื่น ๆ
  
13.51%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 44,378 50.64% 29,752 33.95% 13,503 15.41% 87,633 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 41,944 48.90% 37,652 43.90% 6,182 7.21% 85,778 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 38,753 45.22% 41,918 48.91% 5,028 5.87% 85,699 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 4 63,300 71.31% 16,346 18.42% 9,120 10.27% 88,766 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 5 48,851 61.44% 19,421 24.42% 11,243 14.14% 79,515 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 6 36,268 49.34% 22,797 31.01% 14,449 19.66% 73,514 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 7 42,165 56.72% 19,148 25.76% 13,030 17.53% 74,343 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 8 36,066 44.45% 39,241 48.36% 5,833 7.19% 81,140 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 9 47,115 66.35% 12,248 17.25% 11,650 16.41% 71,013 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 10 56,563 65.73% 11,950 13.89% 17,546 20.39% 86,059 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 11 43,473 54.16% 23,616 29.42% 13,179 16.42% 80,268 100.00% ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง
ผลรวม 498,876 55.82% 274,089 30.67% 120,763 13.51% 893,728 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 11 417,322 46.56% 7 เพิ่มขึ้น3 63.64%
ประชาธิปัตย์ 11 247,493 27.61% 3 Steady 27.27%
ชาติไทยพัฒนา 6 79,734 8.90% 1 ลดลง1 9.09%
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 5 136,082 15.18% 0 ลดลง2 0.00%
อื่น ๆ 40 15,773 1.76% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 73 896,404 100.00% 11 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
เพื่อไทย
  
46.56%
ประชาธิปัตย์
  
27.61%
ชาติไทยพัฒนา
  
8.90%
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
  
15.18%
อื่น ๆ
  
1.76%
ที่นั่ง
เพื่อไทย
  
63.64%
ประชาธิปัตย์
  
27.27%
ชาติไทยพัฒนา
  
9.09%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทยพัฒนา ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 36,495 42.55% 25,259 29.45% 23,634 27.56% 375 0.44% 85,763 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 40,139 46.09% 43,202 49.61% 3,739 4.30% 87,080 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 37,864 44.45% 45,803 53.77% 136 0.16% 1,516 1.78% 85,183 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 4 66,901 77.71% 16,022 18.61% 1,591 1.85% 1,577 1.83% 86,091 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 5 37,573 46.07% 7,357 9.02% 34,871 42.76% 1,751 2.15% 81,552 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 6 26,880 36.09% 19,814 26.61% 24,889 33.42% 2,889 3.88% 74,472 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 7 34,340 45.71% 9,232 12.29% 31,379 41.77% 176 0.23% 75,127 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 8 34,605 42.64% 45,211 55.71% 791 0.97% 541 0.68% 81,148 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 9 42,199 58.91% 6,320 8.82% 22,621 31.58% 487 0.69% 71,627 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 10 33,903 38.80% 3,182 3.64% 14,217 16.27% 33,559 38.41% 2,516 2.88% 87,377 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 11 26,423 32.63% 26,091 32.22% 28,128 34.73% 342 0.42% 80,984 100.00% ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง
ผลรวม 417,322 46.56% 247,493 27.61% 79,734 8.90% 136,082 15.18% 15,773 1.76% 896,404 100.00%

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 498,876 55.82
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 44,074 4.93
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 3,905 0.44
ประชากรไทย (4) 1,196 0.13
รักประเทศไทย (5) 11,653 1.30
พลังชล (6) 386 0.04
ประชาธรรม (7) 339 0.04
ดำรงไทย (8) 947 0.11
พลังมวลชน (9) 1,680 0.19
ประชาธิปัตย์ (10) 274,089 30.67
ไทยพอเพียง (11) 1,172 0.13
รักษ์สันติ (12) 4,614 0.52
ไทยเป็นสุข (13) 190 0.02
กิจสังคม (14) 953 0.11
ไทยเป็นไท (15) 253 0.03
ภูมิใจไทย (16) 3,336 0.37
แทนคุณแผ่นดิน (17) 221 0.02
เพื่อฟ้าดิน (18) 412 0.05
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 345 0.04
การเมืองใหม่ (20) 803 0.09
ชาติไทยพัฒนา (21) 34,489 3.86
เสรีนิยม (22) 1,871 0.21
ชาติสามัคคี (23) 340 0.04
บำรุงเมือง (24) 256 0.03
กสิกรไทย (25) 192 0.02
มาตุภูมิ (26) 257 0.03
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 142 0.02
พลังสังคมไทย (28) 122 0.01
เพื่อประชาชนไทย (29) 413 0.05
มหาชน (30) 3,893 0.44
ประชาชนชาวไทย (31) 236 0.03
รักแผ่นดิน (32) 155 0.02
ประชาสันติ (33) 431 0.05
ความหวังใหม่ (34) 330 0.04
อาสามาตุภูมิ (35) 44 0.00
พลังคนกีฬา (36) 210 0.02
พลังชาวนาไทย (37) 146 0.02
ไทยสร้างสรรค์ (38) 71 0.01
เพื่อนเกษตรไทย (39) 234 0.03
มหารัฐพัฒนา (40) 452 0.05
บัตรดี 893,728 92.81
บัตรเสีย 55,462 5.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 13,794 1.43
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 962,984 74.31
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,295,904 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะเทศบาลนครอุบลราชธานี เทศบาลตำบลปทุม เทศบาลตำบลขามใหญ่ ตำบลไร่น้อย ตำบลกุดลาด และตำบลกระโสบ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ (1)* 36,495 42.55
ประชาธิปัตย์ วิทวัส พันธ์นิกุล (10) 25,259 29.45
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน อดุลย์ นิลเปรม (2)✔️ 23,634 27.56
ประชากรไทย ไพศาล อัครรัตนดิลก (4) 96 0.11
การเมืองใหม่ บุญเทียม แก้วทองคำ (20) 75 0.09
ดำรงไทย นัฐนันท์ ภูเดชเรืองทรัพย์ (8) 74 0.09
เพื่อฟ้าดิน ซึ้งดิน หลักเขต (18) 60 0.07
พลังคนกีฬา มณฑาดา ศิริศรี (36) 38 0.04
ความหวังใหม่ วิศวะ ศรีโอษฐ์ (34) 32 0.04
ผลรวม 85,763 100.00
บัตรดี 85,763 91.30
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,263 4.54
บัตรเสีย 3,906 4.16
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,932 79.30
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,447 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ อำเภอดอนมดแดง อำเภอเหล่าเสือโก้ก และอำเภอตาลสุม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย ศรีหล้า (10)* 43,202 49.61
เพื่อไทย สมบัติ รัตโน (1)✔ 40,139 46.09
ภูมิใจไทย กฤตรัตนชัย ทองเรือง (16) 3,426 3.93
ประชากรไทย อังกูร ไผ่แก้ว (4) 159 0.18
ความหวังใหม่ รัชภูมิ รัตโน (34) 42 0.05
พลังคนกีฬา แสนชัย จิตเสนาะ (36) 42 0.05
เพื่อฟ้าดิน ฝั่งบุญ ชาวหินฟ้า (18) 39 0.04
ดำรงไทย สมหวัง อาภรณ์ศรี (8) 31 0.04
ผลรวม 87,080 100.00
บัตรดี 87,080 94.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,014 1.10
บัตรเสีย 3,935 4.28
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,029 74.33
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,807 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะเทศบาลตำบลอุบล ตำบลแจระแม ตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลหนองบ่อ ตำบลหัวเรือ และ ตำบลขี้เหล็ก) และอำเภอเขื่องใน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วุฒิพงษ์ นามบุตร (10)* 45,803 53.77
เพื่อไทย ณรงค์ชัย วีระกุล (1) 37,864 44.45
ภูมิใจไทย วิชัย ครองยุติ (16) 1,336 1.57
ชาติไทยพัฒนา ศรีบู ขจรฟุ้ง (21) 136 0.16
เพื่อฟ้าดิน กล้าธรรม มารยาท (18) 44 0.05
ผลรวม 85,183 100.00
บัตรดี 85,183 93.57
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,590 1.75
บัตรเสีย 4,260 4.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,033 74.03
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,967 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอวารินชำราบ และอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สุพล ฟองงาม (1)* 66,901 77.71
ประชาธิปัตย์ เพิ่มศักดิ์ ศุภโกศล (10) 16,022 18.61
ชาติไทยพัฒนา คุปโกเมน วิริยาภิรมย์ (21) 1,591 1.85
ประชากรไทย ชนายุส โพธิ์แก้ว (4) 1,122 1.30
เพื่อฟ้าดิน ดินงาม นาวาบุญนิยม (18) 279 0.32
การเมืองใหม่ สุพงษ์ ผาธรรม (20) 131 0.15
ความหวังใหม่ กันย์ดนัย ภูวพิชญ์ขจรกิจ (34) 45 0.05
ผลรวม 86,091 100.00
บัตรดี 86,091 89.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,167 5.37
บัตรเสีย 5,036 5.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,294 76.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,243 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอตระการพืชผล และอำเภอกุดข้าวปุ้น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สุทธิชัย จรูญเนตร (1)* 37,573 46.07
ชาติไทยพัฒนา สุจิตรา ผาลีพัฒน์ (21) 34,871 42.76
ประชาธิปัตย์ อุทัย ปลาทอง (10) 7,357 9.02
ประชาสันติ ดุสิต โสภิตชา (33)✔ 1,436 1.76
เพื่อฟ้าดิน ดินเย็น ชาวหินฟ้า (18) 244 0.30
ความหวังใหม่ สันติ พูดเพราะ (34) 42 0.05
พลังคนกีฬา ผล พลเขต (36) 29 0.04
ผลรวม 81,552 100.00
บัตรดี 81,552 93.96
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 897 1.03
บัตรเสีย 4,346 5.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,795 74.26
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,882 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ อำเภอโพธิ์ไทร และอำเภอนาตาล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย พิสิษฐ์ สันตพันธุ์ (1) 26,880 36.09
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน อุดร ทองประเสริฐ (2)* 24,889 33.42
ประชาธิปัตย์ วีระ รูปคม (10) 19,814 26.61
ภูมิใจไทย ธนบูรณ์ชัย อร่ามเรือง (16) 2,852 3.83
เพื่อฟ้าดิน สมพร เวียงแก้ว (18) 37 0.05
ผลรวม 74,472 100.00
บัตรดี 74,472 94.30
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 836 1.06
บัตรเสีย 3,661 4.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,969 71.54
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,378 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอศรีเมืองใหม่ อำเภอโขงเจียม อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเว และตำบลทรายมูล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ (1)* 34,340 45.71
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน วิทยา จันทวีศิริรัตน์ (2) 31,379 41.77
ประชาธิปัตย์ โกมินทร์ พิมพ์จันทร์ (10) 9,232 12.29
ดำรงไทย ประยงค์ บุญรอด (8) 137 0.18
เพื่อฟ้าดิน พันจ่าอากาศเอก หลักบุญ เต็มใจจน (18) 21 0.03
ความหวังใหม่ จำเนียร จดจำ (34) 18 0.02
ผลรวม 75,127 100.00
บัตรดี 75,127 94.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 821 1.03
บัตรเสีย 3,733 4.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,681 73.57
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,303 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเวและตำบลทรายมูล) อำเภอสว่างวีระวงศ์ และอำเภอนาเยีย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ บุณย์ธิดา สมชัย (10) 45,211 55.71
เพื่อไทย บุญยังมั่น โสภาสาย (1) 34,605 42.64
ชาติไทยพัฒนา เสกสรรค์ กอคูณ (21) 791 0.97
เพื่อฟ้าดิน ดาวเพ็ญ นาวาบุญนิยม (18) 298 0.37
ดำรงไทย ประภาส กาหลง (8) 189 0.23
ความหวังใหม่ ว่าที่ร้อยตรี เกริก ส่งเสริม (34) 54 0.07
ผลรวม 81,148 100.00
บัตรดี 81,148 92.82
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,689 1.93
บัตรเสีย 4,591 5.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,428 72.70
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 120,260 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 9[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอบุณฑริก อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ปัญญา จินตะเวช (1)✔ 42,199 58.91
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน สุชาติ ตันติวณิชชานนท์ (2)* 22,621 31.58
ประชาธิปัตย์ เรืองศรี ตรีราช (10) 6,320 8.82
ประชาสันติ อุดม เฉลิมไธสง (33) 259 0.36
ดำรงไทย บัวสอน สิงห์ทอง (8) 217 0.30
ความหวังใหม่ ดาวชัย จันทร์เปรียง (34) 11 0.02
ผลรวม 71,627 100.00
บัตรดี 71,627 92.74
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,208 1.56
บัตรเสีย 4,405 5.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,240 71.72
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,698 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

เขตเลือกตั้งที่ 10[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยอำเภอน้ำยืน อำเภอทุ่งศรีอุดม อำเภอน้ำขุ่น อำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง) และอำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สมคิด เชื้อคง (1) 33,903 38.80
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ประจักษ์ แสงคำ (2) 33,559 38.41
ชาติไทยพัฒนา อุดร จินตะเวช (21)* 14,217 16.27
ประชาธิปัตย์ ศักดา ไชยเสริฐ (10) 3,182 3.64
ภูมิใจไทย กีรติพงศ์ เทียมสุวรรณ (16) 2,402 2.75
ความหวังใหม่ นิรันดร์ บรรประจง (34) 77 0.09
เพื่อฟ้าดิน ดาวพร ชาวหินฟ้า (18) 37 0.04
ผลรวม 87,377 100.00
บัตรดี 87,377 93.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,241 1.33
บัตรเสีย 4,397 4.73
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,015 74.96
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 124,085 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทยพัฒนา

เขตเลือกตั้งที่ 11[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 11 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทยพัฒนา ตุ่น จินตะเวช (21)* 28,128 34.73
เพื่อไทย ศราวุธ พิริยะกิจไพบูลย์ (1) 26,423 32.63
ประชาธิปัตย์ เอกชัย ทรงอำนาจเจริญ (10) 26,091 32.22
ประชากรไทย จีระชัย พวงพันธ์ (4) 235 0.29
ความหวังใหม่ ราเชนทร์ ฉิมพลี (34) 49 0.06
พลังคนกีฬา วุฒิชัย สาระพันธ์ (36) 29 0.04
เพื่อฟ้าดิน ไทเทิดธรรม สีสุวรรณ์ (18) 29 0.04
ผลรวม 80,984 100.00
บัตรดี 80,984 93.55
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 991 1.14
บัตรเสีย 4,596 5.31
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,571 73.47
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 117,834 100.00
ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]