จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,473,306
ผู้ใช้สิทธิ72.60%
  First party Second party Third party
 
Paethongtarn Shinawatra.png
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
พรรค เพื่อไทย ภูมิใจไทย ก้าวไกล
เลือกตั้งล่าสุด 7 0 พรรคใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 7 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 3 เพิ่มขึ้น 3 Steady
คะแนนเสียง 340,845 197,095 168,875
% 33.55 19.40 16.62

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
พทล.
Sudarat Keyuraphan in 2019.png
Jurin Laksanawisit 2009 (cropped).jpg
พรรค เพื่อไทรวมพลัง ไทยสร้างไทย ประชาธิปัตย์
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ พรรคใหม่ 2
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 2 เพิ่มขึ้น 1 ลดลง 1
คะแนนเสียง 94,345 82,700 51,843
% 9.29 8.14 5.10

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยังไม่ประกาศ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 โดยแบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น 11 เขตเลือกตั้ง[1] เพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2562 ขึ้นมา 1 ที่นั่ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ใหม่ (1) 12,283 1.21
ประชาธิปไตยใหม่ (2) 6,275 0.62
เป็นธรรม (3) 3,329 0.33
ท้องที่ไทย (4) 6,749 0.66
พลังสังคมใหม่ (5) 2,516 0.25
ครูไทยเพื่อประชาชน (6) 3,428 0.34
ภูมิใจไทย (7) 27,890 2.74
แรงงานสร้างชาติ (8) 2,867 0.28
พลัง (9) 7,724 0.76
อนาคตไทย (10) 6,110 0.60
ประชาชาติ (11) 7,736 0.76
ไทยรวมไทย (12) 2,400 0.24
ไทยชนะ (13) 1,201 0.12
ชาติพัฒนากล้า (14) 1,405 0.14
กรีน (15) 476 0.05
พลังสยาม (16) 448 0.04
เสมอภาค (17) 267 0.03
ชาติไทยพัฒนา (18) 1,399 0.14
ภาคีเครือข่ายไทย (19) 2,515 0.25
เปลี่ยน (20) 1,094 0.11
ไทยภักดี (21) 1,949 0.19
รวมไทยสร้างชาติ (22) 64,628 6.35
รวมใจไทย (23) 2,870 0.28
เพื่อชาติ (24) 1,560 0.15
เสรีรวมไทย (25) 7,620 0.75
ประชาธิปัตย์ (26) 23,087 2.27
พลังธรรมใหม่ (27) 758 0.07
ไทยพร้อม (28) 3,254 0.32
เพื่อไทย (29) 411,239 40.41
ทางเลือกใหม่ (30) 2,980 0.29
ก้าวไกล (31) 320,831 31.53
ไทยสร้างไทย (32) 32,770 3.22
ไทยเป็นหนึ่ง (33) 415 0.04
แผ่นดินธรรม (34) 335 0.03
รวมพลัง (35) 1,826 0.18
เพื่อชาติไทย (36) 4,839 0.48
พลังประชารัฐ (37) 9,397 0.92
เพื่อไทรวมพลัง (38) 14,029 1.38
มิติใหม่ (39) 1,213 0.12
ประชาภิวัฒน์ (40) 432 0.04
ไทยธรรม (41) 500 0.05
ไทยศรีวิไลย์ (42) 651 0.06
พลังสหกรณ์ (43) 421 0.04
ราษฎร์วิถี (44) 349 0.03
แนวทางใหม่ (45) 557 0.05
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46) 187 0.02
รวมแผ่นดิน (47) 211 0.02
เพื่ออนาคตไทย (48) 381 0.04
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49) 331 0.03
พลังปวงชนไทย (50) 283 0.03
สามัญชน (51) 135 0.01
ชาติรุ่งเรือง (52) 96 0.01
พลังสังคม (53) 194 0.02
ภราดรภาพ (54) 64 0.01
ไทยก้าวหน้า (55) 1,121 0.11
ประชาไทย (56) 777 0.08
พลังเพื่อไทย (57) 1,578 0.16
สังคมประชาธิปไตยไทย (58) 148 0.01
ช่วยชาติ (59) 405 0.04
ความหวังใหม่ (60) 430 0.01
คลองไทย (61) 202 0.02
พลังไทรักชาติ (62) 318 0.03
ประชากรไทย (63) 2,538 0.25
เส้นด้าย (64) 190 0.02
เปลี่ยนอนาคต (65) 654 0.06
พลังประชาธิปไตย (66) 487 0.05
ไทยสมาร์ท (67) 304 0.03
บัตรดี 1,017,657 95.14
บัตรเสีย 42,950 4.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,968 0.84
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 1,069,575 72.38
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,477,644 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลขี้เหล็ก ตำบลหัวเรือ และตำบลไร่น้อย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ (11)* 32,468 32.79 +0.08
ก้าวไกล วิศรุต สวัสดิวร (10) 31,112 31.42 +9.12
ไทยสร้างไทย อดุลย์ นิลเปรม (1)✔ 21,579 21.79 +21.79
รวมไทยสร้างชาติ เต็มบุญ ศรีธัญรัตน์ (6) 9,086 9.18 +9.18
พลังประชารัฐ สมปรารถนา วิกรัยเจิดเจริญ (5) 1,340 1.37 -18.18
ประชาธิปัตย์ ปรเมธ ศรีหล้า (2) 943 0.95 -3.47
เสรีรวมไทย พันตำรวจเอก สามารถ แก้วเนตร (7) 815 0.82 -1.22
เพื่อชาติ บัณฑิต วิลามาศ (9) 399 0.40 +0.29
ภูมิใจไทย สราวุธ ฟุ้งสุข (3) 307 0.31 -0.89
ชาติพัฒนากล้า ธัชชัย คมขำ (4) 303 0.31 +0.10
ไทยภักดี มีชัย ศรีคูณ (13) 188 0.19 +0.19
พลังสังคมใหม่ ราชาวดี ศรีคูณ (12) 148 0.15 +0.15
พลังปวงชนไทย เสลภูมิ เหล่าออง (16) 106 0.07 -0.16
ไทยศรีวิไลย์ ศักดิ์ดา เกษางาม (8) 89 0.09 -0.11
แนวทางใหม่ ศุภกร เทียนชัย (14) 75 0.08 +0.08
คลองไทย ชัยนิรันดร์ สุดถนอมวงศ์ (15) 65 0.07 +0.07
ผลรวม 99,023 100.00
บัตรดี 99,023 79.19
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,089 2.96
บัตรเสีย 2,143 2.16
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,255 79.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 131,647 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเขื่องในและอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลขี้เหล็ก ตำบลหัวเรือ และตำบลไร่น้อย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วุฒิพงษ์ นามบุตร (4)* 38,164 41.33 +0.86
เพื่อไทย ณรงค์ชัย วีระกุล (9) 31,953 34.60 +5.35
ก้าวไกล สมภพ จันทรวงษ์ (7) 17,520 18.97 +10.44
พลังประชารัฐ โกวิทย์ ธรรมานุชิต (5) 1,829 1.98 -13.62
ภูมิใจไทย ประเสริฐ เผ่าพันธ์ (6) 787 0.85 -0.71
เสรีรวมไทย ประดิษฐ์ สายตรงกิจวานิช (2) 624 0.68 +0.13
ไทยภักดี พิษณุ ภูมิภาค (8) 422 0.46 +0.46
คลองไทย วิบูลย์ เปลวเพลิง (11) 418 0.45 +0.45
ไทยศรีวิไลย์ อริสรา ปั้นทอง (3) 372 0.40 +0.12
พลังปวงชนไทย สมภาศ นวนจำปา (10) 257 0.28 +0.25
รวมไทยสร้างชาติ เชษฐา ไชยสัตย์ (1)
ผลรวม 92,346 100.00
บัตรดี 92,346 92.48
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,501 2.51
บัตรเสีย 504 0.51
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,861 73.75
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 135,410 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ อำเภอเหล่าเสือโก้ก อำเภอดอนมดแดง และอำเภอตาลสุม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทรวมพลัง พิมพกาญจน์ พลสมัคร (3) 31,218 31.35 +31.35
เพื่อไทย ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ (11)* 22,020 22.11 +22.11
ภูมิใจไทย สมบัติ รัตโน (6)✔ 16,572 16.64 +16.64
พลังประชารัฐ จำลอง พรมสวัสดิ์ (5) 12,423 12.48 +12.48
ก้าวไกล สหธวัชชัย อนุสนธ์ (4) 8,140 8.18 +8.18
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย ศรีหล้า (2)✔ 6,888 6.92 +6.92
รวมไทยสร้างชาติ นาวาอากาศเอก พิสิฐ ประเสริฐศรี (7) 730 0.73 +0.73
พลังปวงชนไทย สมัย ดอนเหนือ (13) 510 0.51 +0.51
เสรีรวมไทย พุทธาภิเษก หริคำภา (1) 456 0.46 +0.26
ไทยภักดี เณติไท สีบุดดี (9) 209 0.21 +0.21
คลองไทย เขมิกา นามประสป (12) 176 0.18 +0.18
ประชาธิปไตยใหม่ ร้อยตรี ก้องชายแดน พินธุรักษ์ (10) 148 0.15 +0.03
ไทยศรีวิไลย์ นิสสรณ์ สาโสม (8) 84 0.08 +0.00
ผลรวม 99,574 100.00
บัตรดี 99,574 96.01
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 884 0.85
บัตรเสีย 3,249 3.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,707 74.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 138,593 100.00
เพื่อไทรวมพลัง ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอวารินชำราบและอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลบอน ตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย กิตติ์ธัญญา วาจาดี (11)* 39,462 39.24 -2.91
ก้าวไกล วัฒนชัย มากมูล (7) 31,052 30.88 +13.84
ภูมิใจไทย โยธากาญจน์ ฟองงาม (4) 19,511 19.40 +11.47
ชาติไทยพัฒนา ใจยา วาจาดี (1) 4,013 3.99 +3.63
พลังประชารัฐ นาวิน ลาธุลี (6) 2,847 2.83 -20.39
เสรีรวมไทย อธิปไตย โยธามาตย์ (10) 891 0.89 -0.72
ประชาธิปัตย์ ณัฐพงศ์ บุญทวี (5) 755 0.75 -0.76
ไทยภักดี ไพชยนต์ แสนทวีสุข (13) 693 0.68 +0.68
ไทยสร้างไทย อภิชาติ วรโชติวิวรรธน์ (2) 670 0.67 +0.67
เพื่อชาติไทย มนัส สุขนา (3) 344 0.34 +0.34
ไทยศรีวิไลย์ พิเชษฐ์ วิเศษรอด (8) 230 0.23 +0.10
คลองไทย คชาภรณ์ ชำนาญกิจ (15) 107 0.11 +0.11
รวมไทยสร้างชาติ จำรูญศักดิ์ จันทรมัย (9)
ประชาธิปไตยใหม่ พรหมมินทร์ ยืนสุข (12)
แนวทางใหม่ สมภพ บัวงาม (14)
ผลรวม 100,575 100.00
บัตรดี 100,575 91.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,666 3.35
บัตรเสีย 5,196 4.75
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,437 76.63
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,804 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอตระการพืชผลและอำเภอกุดข้าวปุ้น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย สุทธิชัย จรูญเนตร (1)✔ 44,121 49.13 +47.58
เพื่อไทย รัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ (9)* 30,596 34.07 -12.93
ก้าวไกล เพทาย ศรีสวัสดิ์ (5) 12.050 13.42 +6.10
เสรีรวมไทย มานิตย์ วงศ์ชัย (2) 412 0.46 -0.39
รวมไทยสร้างชาติ นครินทร์ เรืองแสน (4) 779 0.87 +0.87
พลังประชารัฐ เข็มทอง แก้วเนตร (6) 452 0.50 -36.70
พลังปวงชนไทย สุกัญญา ดำหนา (11) 411 0.46 +0.46
ไทยภักดี ลุน ทิพโอสถ (7) 360 0.40 +0.40
ประชาธิปัตย์ พร้อมพงศ์ สิถิลวัลย์ (8) 359 0.40 -1.16
ไทยศรีวิไลย์ ศิริชัย ดวงเดือน (3) 131 0.15 +0.03
คลองไทย ศิรดา แก้วโก (10) 127 0.14 +0.14
ผลรวม 89,798 100.00
บัตรดี 89,798 96.18
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 697 0.75
บัตรเสีย 2,873 3.07
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,368 71.66
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,284 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 6[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ อำเภอนาตาล และอำเภอโพธิ์ไทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ธัญธารีย์ สันตพันธุ์ (8) 43,430 51.20 +13.43
ไทยสร้างไทย บุญธรรม ภาคโพธิ์ (1) 22,759 26.83 +26.83
ก้าวไกล ชิราวุธ แก้วชิณ (7) 9,177 10.82 +1.09
ภูมิใจไทย ธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ (3)* 4,023 4.74 +1.80
ประชาธิปัตย์ วีระ รูปคม (6) 2,504 2.95 -1.17
รวมไทยสร้างชาติ รุจิรา กุลวงศ์ (5) 1,049 1.24 +1.24
พลังประชารัฐ ธนบูรณ์ชัย อร่ามเรือง (2) 611 0.72 -37.45
ประชาธิปไตยใหม่ ประเทศ ทับทิมหิน (11) 338 0.40 +0.40
ไทยภักดี เพิ่มทรัพย์ ปานแดง (9) 315 0.37 +0.37
แนวทางใหม่ จุไรรัตน์ ทิพระษาหาร (13) 203 0.24 +0.24
เสรีรวมไทย กระสุน วงค์ผา (12) 180 0.21 -0.79
พลังสังคมใหม่ อภิชัย เกษงาม (10) 126 0.15 +0.15
ไทยศรีวิไลย์ สำอาง สุขสำราญ (4) 110 0.13 +0.05
ผลรวม 84,825 100.00
บัตรดี 84,825 95.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 701 0.79
บัตรเสีย 3,198 3.49
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,724 68.93
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,707 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก เศรษฐกิจไทย

เขต 7[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอศรีเมืองใหม่ อำเภอโขงเจียม อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตำบลระเวและตำบลทรายมูล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สุดารัตน์ พิทักษ์พรพัลลภ (11) 38,533 43.55 +4.74
ภูมิใจไทย เชิดศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (10) 33,499 37.86 +33.91
ก้าวไกล ภานุภพ ยุตกิจ (7) 10,300 11.64 +2.37
รวมไทยสร้างชาติ สมัคร ป้องวงษ์ (6)* 2,962 3.35 +3.35
รวมแผ่นดิน วิทยา จันทวีศิริรัตน์ (9) 776 0.88 +0.82
พลังประชารัฐ วิยดา พรหมทอง (2) 404 0.46 -34.19
ไทยสร้างไทย พิตติพัฒน์ นามอภัย (8) 403 0.46 +0.46
แผ่นดินธรรม มานะ แรงมูลพฤกษ์ (1) 369 0.42 +0.20
เสรีรวมไทย นินนารถ ศรคำ (12) 264 0.30 -0.57
ประชาธิปัตย์ โกมินทร์ พิมพ์จันทร์ (4) 262 0.30 -6.83
ไทยภักดี เกรียงไกร คำมั่น (13) 196 0.22 +0.22
คลองไทย สมสง่า กรมเมือง (16) 148 0.17 +0.17
ประชาธิปไตยใหม่ ชุพวัล สำราญพงษ์ (3) 128 0.15 +0.03
ไทยศรีวิไลย์ จาตุรงค์ เจริญศรี (5) 127 0.14 +0.06
พลังปวงชนไทย กัลยรัตน์ พูลดี (15) 102 0.12 +0.10
แนวทางใหม่ กฤษณโชติ โสภาพ (14) -
ผลรวม 88,473 100.00
บัตรดี 88,473 96.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 696 0.76
บัตรเสีย 2,775 3.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,944 71.90
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,884 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 8[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอนาเยีย อำเภอสว่างวีระวงศ์ และอำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเวและตำบลทรายมูล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย แนน บุณย์ธิดา สมชัย (2)* 31,773 34.52 +22.75
เพื่อไทย เอกพล ญาวงค์ (11) 27,893 30.30 +5.86
ก้าวไกล ภคมน แก้วปัญญา (8) 14,621 15.88 +7.10
พลังประชารัฐ ณรงค์ศักดิ์ โกศัลวัฒน์ (6) 12,037 13.08 +13.08
รวมไทยสร้างชาติ จิ๋วถนอม คะตะวงศ์ (4) 1,230 1.34 +1.34
ไทยสร้างไทย เสกสรรค์ กอคูณ (9) 1,145 1.24 +1.24
ประชาธิปัตย์ มงคล ศุภสุข (3) 644 0.70 -25.14
เสรีรวมไทย พร้อมวิชญ์ อัศวกฤษนาวิน (7) 759 0.83 -0.21
คลองไทย สมใจ พิมพ์วงศ์ (12) 662 0.72 +0.72
เพื่อชาติไทย เศกสิทธิ์ ศุภรัตนาพิทักษ์ (1) 560 0.61 +0.61
ประชาธิปไตยใหม่ ชาญณรงค์เดช อยู่สุข (5) 260 0.28 +0.28
พลังปวงชนไทย คำตัน เวียงจันทร์ (13) 251 0.27 +0.10
ไทยภักดี ชัยพล สัตยากุล (10) 221 0.24 +0.24
ผลรวม 92,056 100.00
บัตรดี 92,056 95.10
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,374 1.42
บัตรเสีย 3,374 3.48
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,803 71.18
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 135,989 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 9[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอนาจะหลวย อำเภอบุณฑริก และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 9
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยสร้างไทย รำพูล ตันติวณิชชานนท์ (10) 31,311 38.26 +38.26
เพื่อไทย ประภูศักดิ์ จินตะเวช (11)* 30,851 37.69 -0.35
ก้าวไกล พันจ่าอากาศเอก บรรจง อินทร์ขาว (8) 12,105 14.79 +2.83
รวมไทยสร้างชาติ น้ำตาล พวงลาภ (3) 1,613 1.97 +1.97
ภูมิใจไทย วิชัย สวัสดิภาพ (5) 1,528 1.87 -14.78
เสรีรวมไทย นันท์นภัส ศิรวัฒนานนท์ (9) 1,049 1.28 -0.16
พลังประชารัฐ นิวัฒน์ จำปาทอง (1) 961 1.17 -20.14
ทางเลือกใหม่ ศิรินันต์ คันธลา (13) 492 0.60 +0.60
ประชาธิปัตย์ สุพจน์ วรรณสุข (7) 480 0.59 -3.16
ไทยภักดี สัมภาษณ์ พวงพุฒ (12) 366 0.45 +0.45
ช่วยชาติ พันตำรวจตรี สถาปนา แก่นจันทร์ (14) 364 0.45 +0.45
ไทยศรีวิไลย์ ทองพูล มอบหมาย (2) 317 0.39 -0.24
พลังสังคมใหม่ คำสอน โคมทอง (4) 229 0.28 +0.28
เพื่อชาติไทย ทองแดง ตระการ (6) 184 0.23 +0.23
ผลรวม 81,849 100.00
บัตรดี 81,849 94.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 960 1.11
บัตรเสีย 3,749 4.33
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,559 67.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,539 100.00
ไทยสร้างไทย ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 10[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยอำเภอน้ำยืน อำเภอน้ำขุ่น อำเภอทุ่งศรีอุดม อำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) และอำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลบอน ตำบลโคกก่อง และตำบลสำโรง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 10
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทรวมพลัง สมศักดิ์ บุญประชม (1) 63,127 64.79 +64.79
เพื่อไทย สมคิด เชื้อคง (9)* 19,351 19.86 -16.34
ก้าวไกล ประภัสสร สายเพ็ชร (5) 9,735 9.99 +0.56
ภูมิใจไทย ศักดิ์ชัย จินตะเวช (8)✔ 1,177 1.21 -8.95
รวมไทยสร้างชาติ ศิรวุฒิ ผิวหอม (3) 973 1.00 +1.00
พลังประชารัฐ ดาบตำรวจ ศุภโชค ฐานเจริญ (2) 816 0.84 -20.56
ทางเลือกใหม่ ประจวบ พรมพิลา (11) 724 0.74 +0.74
ประชาธิปัตย์ บุญ มาลัย (7) 331 0.34 -7.63
เสรีรวมไทย ชาติพสิษฐ์ ปางชาติ (10) 307 0.32 -0.80
เพื่อชาติ สมัย ละเลิศ (4) 264 0.27 -0.61
ไทยศรีวิไลย์ ธิญาดา หุ่นมีทอง (6) 229 0.24 +0.07
แนวทางใหม่ ศราวุธ ผ่าผล (13) 163 0.17 +0.17
ไทยภักดี ทัศพร ศิริป้อง (12) 120 0.12 +0.12
คลองไทย เรืองยศ เพชรสุก (15) 78 0.08 +0.08
พลังปวงชนไทย คมชาติ ปริโยทัย (14) 33 0.03 -0.15
ผลรวม 97,428 100.00
บัตรดี 97,428 96.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 760 0.75
บัตรเสีย 3,181 3.14
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,369 72.66
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,504 100.00
เพื่อไทรวมพลัง ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 11[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เขต 11
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย ตวงทิพย์ จินตะเวช (4) 43,797 48.69 +28.41
เพื่อไทย เอกชัย ทรงอำนาจเจริญ (9)* 24,288 27.00 -10.53
ก้าวไกล พิทักษ์ชัย จิตจันทร์ (6) 13,063 14.52 +5.59
ไทยสร้างไทย สุริยา ขันอาสา (2) 4,833 5.37 +5.37
รวมไทยสร้างชาติ สมมาตร มะลิลา (7) 946 1.05 +1.05
พลังประชารัฐ ยิ่ง ภูผา (1) 580 0.65 -23.26
พลังปวงชนไทย บุญมา จันทะรักษา (14) 520 0.58 +0.48
ประชาธิปัตย์ ฉัตรชัย แก้วคำปอด (3) 513 0.57 -1.54
เสรีรวมไทย ศักดา ไชยเสริฐ (5) 399 0.44 -0.76
ไทยศรีวิไลย์ ปารเมศ สามิลา (8) 244 0.27 0.15
ไทยภักดี สุวีศักดิ์ แสงสาย (11) 224 0.25 +0.25
ไทยก้าวหน้า ฉัตรชัย คำใส (12) 168 0.19 +0.19
ช่วยชาติ นพณัช นามสีหาญ (13) 154 0.17 +0.17
ทางเลือกใหม่ นำชัย วงศ์อุดม (10) 139 0.16 +0.16
ความหวังใหม่ วิเชียร สิมาทอง (15) 85 0.10 +0.06
ผลรวม 89,953 100.00
บัตรดี 89,953 96.16
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 805 0.86
บัตรเสีย 2,790 2.98
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,548 69.84
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133,945 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

ดูเพิ่ม[แก้]