สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดตรัง มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดตรังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายจัง จริงจิตร[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว, อำเภอปะเหลียน และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอห้วยยอด, อำเภอวังวิเศษ, อำเภอสิเกา, อำเภอกันตัง และกิ่งอำเภอรัษฎา
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ (ยกเว้นตำบลวังมะปราง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ) และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ) และอำเภอวังวิเศษ (เฉพาะตำบลวังมะปราง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง, อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว, อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา และอำเภอหาดสำราญ
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ (ยกเว้นตำบลวังมะปราง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอหาดสำราญ และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ) และอำเภอวังวิเศษ (เฉพาะตำบลวังมะปราง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง, อำเภอนาโยง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ดและตำบลโพรงจระเข้)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอรัษฎา, อำเภอห้วยยอด, อำเภอวังวิเศษ, อำเภอสิเกา และอำเภอกันตัง (เฉพาะตำบลโคกยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหาดสำราญ, อำเภอปะเหลียน, อำเภอย่านตาขาว (ยกเว้นตำบลนาชุมเห็ดและตำบลโพรงจระเข้) และอำเภอกันตัง (ยกเว้นตำบลโคกยาง)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังวิเศษ, อำเภอห้วยยอด และอำเภอรัษฎา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหาดสำราญ, อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสิเกา, อำเภอกันตัง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ)
4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายจัง จริงจิตร
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเชือน สวัสดิปาณี
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเลียบ นิลระตะ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายก่อเกียรติ ษัฎเสน
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายประภาส คงสมัย

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายก่อเกียรติ ษัฎเสน
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500

ชุดที่ 10–11; พ.ศ. 2512–2518[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
เขต ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายชวน หลีกภัย
นายพร ศรีไตรรัตน์ นายประกิต รัตตมณี

ชุดที่ 12–18; พ.ศ. 2519–2535[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคชาติไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายชวน หลีกภัย นายเสริฐแสง ณ นคร นายประกิต รัตตมณี
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายพร ศรีไตรรัตน์ นายนคร ชาลปติ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายวิเชียร คันฉ่อง นายประกิต รัตตมณี
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายสุกิจ อัถโถปกรณ์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายทวี สุระบาล นายพิทักษ์ รังสีธรรม
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายวิเชียร คันฉ่อง
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายชวน หลีกภัย
นายวิเชียร คันฉ่อง
2 นายทวี สุระบาล
นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสุวรรณ กู้สุจริต
2 นายทวี สุระบาล นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
3 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
4 นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
นายสุกิจ อัถโถปกรณ์
2 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

ชุดที่ 24-26; พ.ศ. 2554-2566[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสุกิจ อัถโถปกรณ์ นายนิพันธ์ ศิริธร นายถนอมพงศ์ หลีกภัย
2 นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย นายทวี สุระบาล
3 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ นางสาวสุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธ
4 นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล ยุบเขต 4 นายกาญจน์ ตั้งปอง

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]