ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดหนองคาย มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดหนองคาย
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง91,849 (เพื่อไทย)
57,393 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (2)
พลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดหนองคายมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนวรสิษฐ์ดรุณเวทย์ (นารถ อินทุสมิต)

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ และอำเภอสังคม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอโพนพิสัย, อำเภอเซกา และกิ่งอำเภอโซ่พิสัย
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม และอำเภอโพนพิสัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอโซ่พิสัย, กิ่งอำเภอปากคาด และกิ่งอำเภอพรเจริญ
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย และกิ่งอำเภอปากคาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอโซ่พิสัย และอำเภอพรเจริญ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย และอำเภอปากคาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ และกิ่งอำเภอบึงโขงหลง
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย และอำเภอปากคาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, กิ่งอำเภอบึงโขงหลง และกิ่งอำเภอศรีวิไล
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม และอำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลจุมพล ตำบลนาดี ตำบลทุ่งหลวง ตำบลวัดหลวง ตำบลเหล่าต่างคำ ตำบลหนองหลวง ตำบลชุมช้าง ตำบลนาหนัง ตำบลเซิม ตำบลกุดบง ตำบลเฝ้าไร่ ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลวังหลวง และตำบลอุดมพร)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอปากคาด, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, อำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลพระบาทนาสิงห์ ตำบลรัตนวาปี ตำบลโพนแพง ตำบลนาทับไฮ และตำบลบ้านต้อน), กิ่งอำเภอบึงโขงหลง, กิ่งอำเภอศรีวิไล และกิ่งอำเภอบุ่งคล้า
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย, กิ่งอำเภอเฝ้าไร่ และกิ่งอำเภอสระใคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอปากคาด, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, อำเภอบึงโขงหลง, อำเภอศรีวิไล, กิ่งอำเภอบุ่งคล้า และกิ่งอำเภอรัตนวาปี
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย (ยกเว้นตำบลหาดคำ ตำบลสีกาย ตำบลหินโงม และตำบลบ้านเดื่อ), อำเภอท่าบ่อ (เฉพาะตำบลบ้านถ่อนและตำบลหนองนาง) และกิ่งอำเภอสระใคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนพิสัย, อำเภอเมืองหนองคาย (เฉพาะตำบลหาดคำ ตำบลสีกาย ตำบลหินโงม และตำบลบ้านเดื่อ) และกิ่งอำเภอเฝ้าไร่ (เฉพาะตำบลหนองหลวงและตำบลวังหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอสังคม, อำเภอท่าบ่อ (ยกเว้นตำบลบ้านถ่อนและตำบลหนองนาง) และกิ่งอำเภอโพธิ์ตาก
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอปากคาด (เฉพาะตำบลปากคาด ตำบลหนองยอง และตำบลสมสนุก), กิ่งอำเภอรัตนวาปี และกิ่งอำเภอเฝ้าไร่ (ยกเว้นตำบลหนองหลวงและตำบลวังหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบุ่งคล้า, อำเภอบึงกาฬ, อำเภอศรีวิไล, อำเภอปากคาด (เฉพาะตำบลนากั้ง ตำบลโนนศิลา และตำบลนาดง) และอำเภอบึงโขงหลง (เฉพาะตำบลท่าดอกคำ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพรเจริญ, อำเภอเซกา และอำเภอบึงโขงหลง (ยกเว้นตำบลท่าดอกคำ)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย อำเภอสระใคร, อำเภอรัตนวาปี และอำเภอโพธิ์ตาก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอปากคาด, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, อำเภอบึงโขงหลง, อำเภอศรีวิไล, อำเภอบุ่งคล้า และอำเภอเฝ้าไร่
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสระใคร, อำเภอเมืองหนองคาย (ยกเว้นตำบลเวียงคุกและตำบลพระธาตุบังพวน) และอำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลเหล่าต่างคำ ตำบลทุ่งหลวง และตำบลสร้างนางขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอรัตนวาปี, อำเภอเฝ้าไร่ และอำเภอโพนพิสัย (ยกเว้นตำบลเหล่าต่างคำ ตำบลทุ่งหลวง และตำบลสร้างนางขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสังคม, อำเภอโพธิ์ตาก, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ และอำเภอเมืองหนองคาย (เฉพาะตำบลเวียงคุกและตำบลพระธาตุบังพวน)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ขุนวรสิษฐ์ดรุณเวทย์ (นารถ อินทุสมิต)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ขุนพิพัฒนโภคา (เสียชีวิต)
ร้อยเอก เยี่ยม เอกสิทธิ์ (แทนขุนพิพัฒนโภคา)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายกุล ธรรมวงศา
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายชื่น ระวิวรรณ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายชื่น ระวิวรรณ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายชื่น ระวิวรรณ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายชื่น ระวิวรรณ

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายชื่น ระวิวรรณ
2 นายขันธ์ สีหอำไพ

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

[แก้]
      พรรคพลังใหม่
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคประชาราษฎร์
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายนิตินัย นาครทรรพ นายสงวนศักดิ์ ศิริชนะ นายวงศ์ พลนิกร
นายสุกาญจน์ นารายนะคะมิน นายสุ่ม โพธิเสน นายพิทักษ์ ศรีตะบุตร
2 นายธเนตร เอียสกุล นางทองมาก รามสูต นายอนุวัฒน์ บัวพรหมมี
นายสลัด สุวรรณรอด นายชื่น ระวิวรรณ นายพลศักดิ์ ศรีตะบุศย์

ชุดที่ 14–16; พ.ศ. 2526–2531

[แก้]
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทย
      พรรคปวงชนชาวไทย
      พรรคราษฎร
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
1 นายพิชัย ระวิวรรณ (เสียชีวิต) นายฉัตรชัย เอียสกุล นายนิตินัย นาครทรรพ
นายนิตินัย นาครทรรพ (แทนนายพิชัย)
นายพิทักษ์ ศรีตะบุตร นายทรงยศ รามสูต
นายวงศ์ พลนิกร นายสุนทร นิลเกตุ นายประสิทธิ์ จันทาทอง
2 นายอนุวัฒน์ บัวพรหมมี นายเฉลิมชัย เอียสกุล นายสุเมธ พรมพันห่าว
นายไชยวัฒน์ พรหมประสิทธิ์

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539

[แก้]
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา
เขต ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายประสิทธิ์ จันทาทอง นายทรงพล โกวิทศิริกุล นายประสิทธิ์ จันทาทอง นายทรงพล โกวิทศิริกุล
นายฉัตรชัย เอียสกุล
นายทรงยศ รามสูต นายพิทักษ์ ศรีตะบุตร
2 นายสุเมธ พรมพันห่าว นายสุเมธ พรมพันห่าว
นายพินิจ จารุสมบัติ นายพินิจ จารุสมบัติ
นายเฉลิมชัย เอียสกุล นายธรรมนูญ เจริญดี นายเฉลิมชัย เอียสกุล

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคเสรีธรรมพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย
2 นายประสิทธิ์ จันทาทอง
3 นายเอกธนัช อินทร์รอด
4 นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ
5 นายธรรมนูญ เจริญดี นายสงกรานต์ คำพิไสย์
นายสงกรานต์ คำพิไสย์
(แทนนายธรรมนูญ)
6 นายนิพนธ์ คนขยัน

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย
นางชมภู จันทาทอง
นายสมคิด บาลไธสง
2 นายยุทธพงษ์ แสงศรี
นายเชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์
นายไตรรงค์ ติธรรม
  • สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2554 เขตเลือกตั้งที่ 2 เป็นของจังหวัดบึงกาฬ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย นายสมคิด บาลไธสง
( / เลือกตั้งใหม่)
นางชมภู จันทาทอง
ชุดที่ 25 [2] พ.ศ. 2562 นายกฤษฎา ตันเทอดทิตย์ นางสาวชนก จันทาทอง นายเอกธนัช อินทร์รอด
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายกระแสร์ ตระกูลพรพงศ์

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-05-07. สืบค้นเมื่อ 2019-05-09.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]