สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดพิษณุโลก มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์[แก้]
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพิษณุโลกมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนประเจตดรุณพันธ์ (เหล็ง ศุขโรจน์)[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 10 สมัย ได้แก่ นายสุชน ชามพูนท
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดพิษณุโลก คือ นางมยุรา มนะสิการ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ไกรฤกษ์ (4 คน) ได้แก่ ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์, นายโกศล ไกรฤกษ์, นาวาอากาศโท สุรปานี ไกรฤกษ์ และนายจุติ ไกรฤกษ์
เขตเลือกตั้ง[แก้]
การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ และอำเภอบางกระทุ่ม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอวังทอง |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และ กิ่งอำเภอเนินมะปราง |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง |
||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม (เฉพาะตำบลมะตูมและตำบลท่าช้าง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง, อำเภอเนินมะปราง และอำเภอพรหมพิราม (ยกเว้นตำบลมะตูมและตำบลท่าช้าง) |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลจอมทอง และตำบลพลายชุมพล) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลจอมทอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลบ้านป่า และตำบลมะขามสูง), อำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา และตำบลหนองพระ) และอำเภอบางกระทุ่ม (เฉพาะตำบลท่าตาล) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลบ้านป่าและตำบลมะขามสูง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางระกำและอำเภอบางกระทุ่ม (ยกเว้นตำบลท่าตาล) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลบ้านกลาง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเนินมะปรางและอำเภอวังทอง (ยกเว้นตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา ตำบลหนองพระ และตำบลบ้านกลาง) |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลบึงพระ ตำบลวัดพริก ตำบลวังน้ำคู้ ตำบลงิ้วงาม ตำบลท่าโพธิ์ ตำบลท่าทอง และตำบลบ้านกร่าง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังทอง (ยกเว้นตำบลวังนกแอ่น ตำบลท่าหมื่นราม ตำบลพันชาลี ตำบลหนองพระ และตำบลแม่ระกา) และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลสมอแข ตำบลบ้านป่า ตำบลดอนทอง ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลจอมทอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลหัวรอ และตำบลอรัญญิก) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลไผ่ขอดอน) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลพันชาลี ตำบลหนองพระ และตำบลแม่ระกา) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครไทย, อำเภอเนินมะปราง และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลวังนกแอ่นและตำบลท่าหมื่นราม) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลท่าทอง ตำบลบึงพระ ตำบลวัดพริก และตำบลวังน้ำคู้) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพรหมพิรามและอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลไผ่ขอดอน ตำบลบ้านกร่าง ตำบลจอมทอง ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลบ้านป่า ตำบลดอนทอง และตำบลสมอแข) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังทองและอำเภอเนินมะปราง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางกระทุ่ม, อำเภอบางระกำ และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลท่าโพธิ์และตำบลงิ้วงาม) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอชาติตระการ และอำเภอนครไทย |
![]() |
5 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | |||
พ.ศ. 2566 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2481[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | ขุนประเจตดรุณพันธ์ (เหล็ง ศุขโรจน์) |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | หลวงสุทธิวุฒินฤเบศร์ (เจริญ สัตจอง) |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | ขุนคุปตพงษ์ประพันธ์ |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | พระยาสุนทรพิพิธ (เชย สุนทรพิพิธ) |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายดุม อินทุวงศ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ |
พ.ศ. 2492 | นายสานนท์ สายสว่าง (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี | ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี | นายอุทัย แสงศิริ |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]
- พรรคอิสระ
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายโกศล ไกรฤกษ์ |
2 | นายอนันต์ ภักดิ์ประไพ |
3 | นายสุชน ชามพูนท |
ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายอนันต์ ภักดิ์ประไพ | นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี | นาวาอากาศโท สุรปานี ไกรฤกษ์ | นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายสุชน ชามพูนท | นายโกศล ไกรฤกษ์ |
ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535[แก้]
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชากรไทย
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | |||
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายคนเด็ด มั่นสีเขียว | นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี | นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ | นายโกศล ไกรฤกษ์ | นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายสุชน ชามพูนท | นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา | |||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายสมพงษ์ พลไวย์ | นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ | |||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายอุดมศักดิ์ อุชชิน | นายโกศล ไกรฤกษ์ | นายจุติ ไกรฤกษ์ | ||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายอุดมศักดิ์ อุชชิน | นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ | นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์ | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายสุชน ชามพูนท | นายพิษณุ พลไวย์ | นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ | นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์ |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]
- พรรคนำไทย
- พรรคประชากรไทย
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคประชากรไทย → พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | พลเอกศิริ ทิวะพันธุ์ | นายพิษณุ พลไวย์ |
นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ | นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ | |
นายสุชน ชามพูนท | ||
2 | นายจุติ ไกรฤกษ์ | |
นายอุดมศักดิ์ อุชชิน | นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์ | |
นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]
เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา | นายวรงค์ เดชกิจวิกรม |
2 | นายพิษณุ พลไวย์ | นายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ |
3 | นางมยุรา มนะสิการ | |
4 | นายสุชน ชามพูนท | นายนิยม ช่างพินิจ |
5 | นายนคร มาฉิม | |
6 | นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ (เสียชีวิต) | นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์ |
นายจุติ ไกรฤกษ์ (แทนนายวีระ) |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคเพื่อไทย
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคกิจสังคม
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายวรงค์ เดชกิจวิกรม |
นายนิยม ช่างพินิจ | |
นายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ | |
2 | นายนคร มาฉิม |
นายจุติ ไกรฤกษ์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายวรงค์ เดชกิจวิกรม | นายปดิพัทธ์ สันติภาดา |
2 | นายนพพล เหลืองทองนารา | |
3 | นายจุติ ไกรฤกษ์ | นายอนุชา น้อยวงศ์ (ลาออก / ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
4 | นายนิยม ช่างพินิจ | นายนิยม ช่างพินิจ (ลาออก / ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
5 | นายนคร มาฉิม | นายมานัส อ่อนอ้าย |
รูปภาพ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดพิษณุโลก เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน