ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ67.89%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ มหาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 10 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 7 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 519,246 109,959 87,874
% 64.16 13.59 10.56

  Fourth party
 
พรรค ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0
ที่นั่งที่ชนะ 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 50,131
% 6.19

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 11 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานี)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 519,246 64.16%
ประชาธิปัตย์ 109,959 13.59%
มหาชน 87,874 10.56%
ชาติไทย 50,131 6.19%
อื่น ๆ 42,141 5.50%
ผลรวม 809,351 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
64.16%
ประชาธิปัตย์
  
13.59%
มหาชน
  
10.56%
ชาติไทย
  
6.19%
อื่น ๆ
  
5.50%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานี)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 50,131 6.19
กิจสังคม (2) 1,545 0.19
พัฒนาชาติไทย (3) 2,121 0.26
ประชาธิปัตย์ (4) 109,959 13.59
ประชาชนไทย (5) 2,067 0.26
คนขอปลดหนี้ (6) 11,369 1.40
ธรรมชาติไทย (7) 1,170 0.14
แผ่นดินไทย (8) 2,306 0.28
ไทยรักไทย (9) 519,246 64.16
ความหวังใหม่ (10) 2,572 0.32
มหาชน (11) 87,874 10.56
ประชากรไทย (12) 1,327 0.16
ไทยช่วยไทย (13) 1,657 0.20
แรงงาน (14) 3,014 0.37
ชาติประชาธิปไตย (15) 2,499 0.31
กสิกรไทย (16) 777 0.10
ทางเลือกที่สาม (17) 415 0.05
รักษ์ถิ่นไทย (18) 653 0.08
พลังเกษตรกร (19) 7,798 0.96
พลังประชาชน (20) 851 0.11
บัตรดี 809,351 96.55
บัตรเสีย 22,031 2.63
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,890 0.82
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 838,272 67.89
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,234,661 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตําบลในเมือง ตําบลแจระแม ตําบลปทุม ตําบลกุดลาด ตําบลกระโสบ และตําบลไร่น้อย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย เกรียง กัลป์ตินันท์ (9)* 41,506 60.86
มหาชน ไพวัณ วัฒนราษฎร์ (11) 18,833 27.61
ประชาธิปัตย์ อุทิศพงษ์ สวนสุธาร (4) 7,214 10.58
ประชากรไทย ไพศาล อัครรัตนดิลก (12) 649 0.95
ผลรวม 68,202 100.00
บัตรดี 68,202 89.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,092 5.40
บัตรเสีย 3,491 4.61
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,785 74.52
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 101,699 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ อำเภอดอนมดแดง อำเภอตาลสุม (เฉพาะตำบลนาคาย และตำบลจิกเทิง) อำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตําบลหัวเรือ และตําบลขี้เหล็ก) และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก๊ก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สมบัติ รัตโน (9)* 38,274 51.33
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย ศรีหล้า (4) 26,016 34.89
มหาชน วิทยา ขันอาสา (11)✔ 10,271 13.78
ผลรวม 74,561 100.00
บัตรดี 74,561 93.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 921 1.15
บัตรเสีย 4,490 5.61
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,972 69.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,076 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเขื่องใน และอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลหนองข่อ และตำบลขามใหญ่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร (4)* 39,390 51.08
ไทยรักไทย โกวิทย์ ธรรมานุชิต (9) 37,134 48.16
มหาชน ชัชวาลย์ วาระนุช (11) 437 0.57
ชาติประชาธิปไตย อำพล สุวรรณกูฏ (15) 151 0.20
ความหวังใหม่ อรทัย รัศมี (10)
ผลรวม 77,112 100.00
บัตรดี 77,112 94.04
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 711 0.87
บัตรเสีย 4,177 5.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 82,000 69.33
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,276 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอวารินชำราบ และอำเภอสำโรง (เฉพาะตำบลโคกก่อง ตำบลบอน และตำบลสำโรง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุพล ฟองงาม (9)* 64,750 80.11
มหาชน ธนวัฒน์ อเนกอนันต์กิจ (11) 6,806 8.42
ประชาธิปัตย์ ไชโย อ่อนละออ (4) 5,015 6.20
ชาติไทย ทยกร พลพานิช (1) 3,911 4.84
ความหวังใหม่ นิวัติ อ่างแก้ว (10) 348 0.43
ผลรวม 80,830 100.00
บัตรดี 80,830 91.13
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,394 3.83
บัตรเสีย 4,470 5.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,694 72.16
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,906 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอตระการพืชผล และอำเภอกุดข้าวปุ้น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย รัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ (1) 35,762 50.39
ไทยรักไทย สุทธิชัย จรูญเนตร (9) 33,061 46.58
มหาชน สาคร วงษ์ใหญ่ (11) 1,105 1.56
ประชาธิปัตย์ ปฐมพงษ์ เรืองแสน (4) 577 0.81
พลังเกษตรกร เจษฎา อมตะไพบูลย์ (19) 378 0.53
ประชาชนไทย จิตรกร สุทธิพรชัย (5) 92 0.13
ผลรวม 70,975 100.00
บัตรดี 70,975 94.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 563 0.75
บัตรเสีย 3,403 4.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,941 66.42
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 112,827 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 6

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ อำเภอโพธิ์ไทร อำเภอศรีเมืองใหม่ (เฉพาะตำบลนาเลิน) และกิ่งอำเภอนาตาล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย อุดร ทองประเสริฐ (9) 33,347 53.36
มหาชน วีระ รูปคม (11) 18,006 28.81
ประชาธิปัตย์ ธนบูรณ์ชัย อร่ามเรือง (4) 7,720 12.35
ชาติไทย มีศักดิ์ ญาณะพันธ์ (1) 3,420 5.47
ผลรวม 62,493 100.00
บัตรดี 62,493 92.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 871 1.28
บัตรเสีย 4,546 6.69
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 67,910 63.30
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,290 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 7

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอโขงเจียม อำเภอศรีเมืองใหม่ (ยกเว้นตำบลนาเลิน) อำเภอตาลสุม (ยกเว้นตำบลนาคาย และตำบลจิกเทิง) อำเภอสิรินธร (ยกเว้นตำบลโนนก่อ และตำบลช่องเม็ก) และอำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาาะตำบลระเว ตำบลทรายมูล และตำบลโพธิ์ศรี)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (9)* 29,861 43.88
มหาชน วิทยา จันทวีศิริรัตน์ (11) 16,384 24.08
ประชาธิปัตย์ แสง ศรีบุระ (4) 14,459 21.25
คนขอปลดหนี้ อภัย กินามณีย์ (6) 5,453 8.01
ความหวังใหม่ จ่าสิบตรี พยุงศักดิ์ พ้นภัย (10) 1,888 2.77
ชาติไทย โกมินทร์ พิมพ์จันทร์ (1)
ผลรวม 68,045 100.00
บัตรดี 68,045 91.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 986 1.33
บัตรเสีย 5,214 7.02
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,245 63.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,035 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตำบลระเว ตำบลทรายมูล และตำบลโพธิ์ศรี) กิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์ และกิ่งอำเภอนาเยีย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อิสสระ สมชัย (4)✔ 36,236 53.84
ไทยรักไทย พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (9)* 30,057 44.66
มหาชน เชาวพันธ์ เขียวสะอาด (11) 1,004 1.49
ผลรวม 67,297 100.00
บัตรดี 67,297 93.41
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 557 0.77
บัตรเสีย 4,192 5.82
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 72,046 66.97
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,572 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 9

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอบุณฑริก อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร (เฉพาะตำบลโนนก่อ และตำบลช่องเม็ก)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุชาติ ตันติวณิชชานนท์ (9)* 44,284 69.31
มหาชน ปัญญา จินตะเวช (11)✔ 18,257 28.57
ประชาธิปัตย์ พิสมัย พิณโท (4) 839 1.31
ความหวังใหม่ วันชัย สุภาภรณ์ (10) 515 0.81
ผลรวม 63,895 100.00
บัตรดี 63,895 91.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 837 1.20
บัตรเสีย 5,262 7.52
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 69,994 66.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,870 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 10

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยอำเภอน้ำยืน อำเภอทุ่งศรีอุดม อำเภอสำโรง (ยกเว้นตำบลโคกก่อง ตำบบลบอน และตำบลสำโรง) อำเภอเดชอุดม (เฉพาะตำบลทุ่งเทิง) และกิ่งอำเภอน้ำขุ่น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย กิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ (9)* 31,973 44.74
ชาติไทย ศักดิ์ชัย จินตะเวช (1)✔ 31,580 44.19
มหาชน วิทยา บันทุปา (11)✔ 6,900 9.65
ประชาธิปัตย์ รุ่งลาวัลย์ วุฒธพรหม (4) 552 0.77
คนขอปลดหนี้ มาลีวัลย์ ไชยสนิท (6) 461 0.65
ผลรวม 71,466 100.00
บัตรดี 71,466 93.03
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 728 0.95
บัตรเสีย 4,630 6.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,824 66.04
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,338 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 11

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม (ยกเว้นตำบลทุ่งเทิง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 11 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
มหาชน ตุ่น จินตะเวช (11)✔ 35,000 49.83
ไทยรักไทย ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (9)* 33,292 47.40
ประชาธิปัตย์ โอวาท จุลโคตร (4)✔ 1,946 2.77
ความหวังใหม่ สุริยพันธ์ ภักดีสัน (10)
ผลรวม 70,238 100.00
บัตรดี 70,238 92.57
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,003 1.32
บัตรเสีย 4,631 6.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,872 68.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,772 100.00
มหาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

การเลือกตั้งใหม่

[แก้]

ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่นายวิฑูรย์ นามบุตร ว่าที่ ส.ส.เขต 3 พรรคประชาธิปัตย์ และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 3 จังหวัดอุบลราชธานี โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2548

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตำบลปะอาว ตำบลหนองขอน ตำบลหนองข่อ และตำบลขามใหญ่) และอำเภอเขื่องใน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร (4) 35,398 49.96 -1.12
ไทยรักไทย โกวิทย์ ธรรมานุชิต (9) 35,215 49.70 +1.54
มหาชน ชัชวาลย์ วาระนุช (11) 199 0.28 -0.29
ชาติประชาธิปไตย อำพล สุวรรณกูฏ (15) 47 0.07 -0.13
ความหวังใหม่ อรทัย รัศมี (10)
ผลรวม 70,859 100.00
บัตรดี 70,859 96.26
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 350 0.48
บัตรเสีย 2,400 3.26
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,609 62.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,276 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง

[แก้]
  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.