ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดร้อยเอ็ด
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต8
คะแนนเสียง300,126 (เพื่อไทย)
102,210 (พลังประชารัฐ)
77,599 (ไทยสร้างไทย)
41,736 (ชาติไทยพัฒนา)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (5)
กล้าธรรม (1)
ไทยสร้างไทย (1)
ชาติไทยพัฒนา (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดร้อยเอ็ด มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 8 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดร้อยเอ็ดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พันโท พระไพศาลเวชกรรม (สวาสดิ์ โสมเกษตร) และ จ่านายสิบ ขุนเสนาสัสดี (ถั่ง ทองทวี)

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอแซงบาดาล, อำเภอโพนทอง และอำเภอหัวช้าง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแวง, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ และอำเภอเสลภูมิ
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี และอำเภออาจสามารถ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแวง, อำเภอเสลภูมิ และอำเภอพนมไพร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอเกษตรวิสัย และอำเภอสุวรรณภูมิ
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอหนองพอก, อำเภอโพนทอง และกิ่งอำเภอโพธิ์ชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภออาจสามารถ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอปทุมรัตน์, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอพนมไพร และกิ่งอำเภอเมืองสรวง
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอโพธิ์ชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์ และกิ่งอำเภอเมืองสรวง
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก, กิ่งอำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอเมยวดี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, กิ่งอำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก, อำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอเมยวดี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอโพธิ์ชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอศรีสมเด็จ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย, กิ่งอำเภอศรีสมเด็จ และกิ่งอำเภอจังหาร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และอำเภอโพนทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, กิ่งอำเภอจังหาร และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอหนองฮี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออาจสามารถ, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอโพนทอง, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอจังหาร และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอหนองฮี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออาจสามารถ, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอโพนทอง, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ (ยกเว้นตำบลอาจสามารถ ตำบลหนองขาม ตำบลหนองหมื่นถ่าน และตำบลหน่อม), กิ่งอำเภอทุ่งเขาหลวง และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ (เฉพาะตำบลหมูม้น ตำบลพลับพลา และตำบลพระเจ้า)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอจังหาร, อำเภอโพนทอง (เฉพาะตำบลนาอุดม ตำบลอุ่มเม่า ตำบลคำนาดี และตำบลโพธิ์ศรีสว่าง) และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ (เฉพาะตำบลพระธาตุ ตำบลเชียงขวัญ และตำบลบ้านเขือง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโพนทอง (ยกเว้นตำบลนาอุดม ตำบลอุ่มเม่า ตำบลคำนาดี และตำบลโพธิ์ศรีสว่าง), อำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลท่าสีดา ตำบลหนองขุ่นใหญ่ ตำบลโคกสว่าง และตำบลผาน้ำย้อย) และอำเภอเมยวดี
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเสลภูมิและอำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลท่าสีดา ตำบลหนองขุ่นใหญ่ ตำบลโคกสว่าง และตำบลผาน้ำย้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลอาจสามารถ ตำบลหนองขาม ตำบลหนองหมื่นถ่าน และตำบลหน่อม) และกิ่งอำเภอหนองฮี
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสุวรรณภูมิและอำเภอโพนทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเกษตรวิสัยและอำเภอปทุมรัตต์
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอศรีสมเด็จ และอำเภอเมืองสรวง
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ดและอำเภอจังหาร (เฉพาะตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอจังหาร (ยกเว้นตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่), อำเภอธวัชบุรี (ยกเว้นตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล) และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเมยวดี และอำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่) และกิ่งอำเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลอาจสามารถ ตำบลบ้านแจ้ง ตำบลหนองหมื่นถ่าน ตำบลโพนเมือง และตำบลหม่อม), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล), กิ่งอำเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และกิ่งอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลหนองฮีและตำบลสาวแห)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลหนองหิน) และกิ่งอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลเด่นราษฎร์และตำบลดูกอึ่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอปทุมรัตต์ และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลกกกุงและตำบลคูเมือง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลบ้านดู่ ตำบลหนองขาม ตำบลโหรา ตำบลหนองบัว และตำบลขี้เหล็ก) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลเมืองสรวงและตำบลหนองผือ)
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจังหาร, อำเภอเชียงขวัญ และอำเภอทุ่งเขาหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง, อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ดและอำเภอจังหาร (เฉพาะตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอเชียงขวัญ, อำเภอจังหาร (ยกเว้นตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่) และอำเภอธวัชบุรี (ยกเว้นตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเมยวดี และอำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และอำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลอาจสามารถ ตำบลบ้านแจ้ง ตำบลหนองหมื่นถ่าน ตำบลโพนเมือง และตำบลหม่อม), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล), อำเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลหนองฮีและตำบลสาวแห)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอโพนทราย, อำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลเด่นราษฎร์และตำบลดูกอึ่ง) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลหนองหิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอปทุมรัตต์ และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลกกกุงและตำบลคูเมือง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลบ้านดู่ ตำบลหนองขาม ตำบลโหรา ตำบลหนองบัว และตำบลขี้เหล็ก) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลเมืองสรวงและตำบลหนองผือ)
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ดและอำเภอศรีสมเด็จ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอจังหาร, อำเภอเชียงขวัญ, อำเภอโพธิ์ชัย และอำเภอธวัชบุรี (ยกเว้นตำบลราชธานี ตำบลเขวาทุ่ง และตำบลเมืองน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเมยวดี และอำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลหนองขุ่นใหญ่และตำบลท่าสีดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอทุ่งเขาหลวง, อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลราชธานี ตำบลเขวาทุ่ง และตำบลเมืองน้อย), อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลโพนเมืองและตำบลบ้านแจ้ง) และอำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลหนองขุ่นใหญ่และตำบลท่าสีดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโพนทราย, อำเภอหนองฮี, อำเภอพนมไพร และอำเภออาจสามารถ (ยกเว้นตำบลโพนเมืองและตำบลบ้านแจ้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอเมืองสรวง และอำเภอจตุรพักตรพิมาน (เฉพาะตำบลป่าสังข์ ตำบลดงกลาง ตำบลศรีโคตร ตำบลหัวช้าง ตำบลดงแดง และตำบลน้ำใส)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเกษตรวิสัย และอำเภอจตุรพักตรพิมาน (เฉพาะตำบลลิ้นฟ้า ตำบลดู่น้อย ตำบลอีง่อง ตำบลหนองผือ ตำบลเมืองหงส์ และตำบลโคกล่าม)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอจังหาร, อำเภอเชียงขวัญ, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอโพนทอง (เฉพาะตำบลคำนาดี ตำบลนาอุดม และตำบลอุ่มเม่า) และอำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลธวัชบุรี ตำบลหนองพอก และตำบลมะอึ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองพอก, อำเภอเมยวดี และอำเภอโพนทอง (ยกเว้นตำบลคำนาดี ตำบลนาอุดม ตำบลอุ่มเม่า ตำบลโคกสูง และตำบลโพธิ์ศรีสว่าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลธงธานี ตำบลบึงนคร และตำบลไพศาล) และอำเภอโพนทอง (เฉพาะตำบลโคกสูงและตำบลโพธิ์ศรีสว่าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (ยกเว้นตำบลโหรา ตำบลหนองบัว ตำบลบ้านดู่ และตำบลขี้เหล็ก), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลอุ่มเม้า ตำบลนิเวศน์ และตำบลหนองไผ่), อำเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลหนองฮี)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี (ยกเว้นตำบลหนองฮี)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเกษตรวิสัย และอำเภอเมืองสรวง (ยกเว้นตำบลหนองผือและตำบลเมืองสรวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลโหรา ตำบลหนองบัว ตำบลบ้านดู่ และตำบลขี้เหล็ก), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง และตำบลราชธานี) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลหนองผือและตำบลเมืองสรวง)
8 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
พันโท พระไพศาลเวชกรรม (สวาสดิ์ โสมเกษตริน)
จ่านายสิบ ขุนเสนาสัสดี (ถั่ง ทองทวี)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

[แก้]
      พรรคสหชีพ
      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายถวิล อุดล นายสิงห์ ประกาสิทธิ์ นายฉันท์ จันทชุม
2 นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ นายวิเชียร บำรุงพานิช นายประมวล ประสาน
3 นายจำรัส ทับแสง

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

[แก้]
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายชอ สายเชื้อ
นายวิวัฒน์ พูนศรี ศรีสุวรนันท์
นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์
พ.ศ. 2492 นายสุวัฒน์ พูลลาภ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

[แก้]
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายจรินทร์ สุวรรณธาดา
2 นายฉันท์ จันทชุม
3 นายอัมพร สุวรรณบล
4 นายนิวัติ พูนศรี ศรีสุวรนันท์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีประชาธิปไตย
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายอัมพร สุวรรณบล นายบรรเจิด สายเชื้อ
นายเทพเจริญ พูลลาภ นายจรินทร์ สุวรรณธาดา
นายฉันท์ จันทชุม นายฉันท์ จันทชุม
นายสมพร จุรีมาศ
- นายเทพเจริญ พูลลาภ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
- นายชอ สายเชื้อ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
- นายมานิต มาศเกษม (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
- นายเพชร จันทราช (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวประชาธิปไตย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายสมบูรณ์ ทวีวัฒน์
2 เรืออากาศเอก สมบูรณ์ ไพรินทร์
3 นายเสมอ อัครปรีดี (ขาดคุณสมบัติ)
นายชวินทร์ สระคำ (แทนนายเสมอ)
4 นายสมพร จุรีมาศ
5 ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ

ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518

[แก้]
      พรรคพลังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคแผ่นดินไทย (พ.ศ. 2517)
      พรรคเกษตรสังคม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายสนิท ขุราษี
นายชู อุ่นสมัย
นางสุนีรัตน์ เตลาน
2 นายชัชวาลย์ ชมภูแดง
นายถวิล พิมพ์มหินทร์
ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ

ชุดที่ 12–14; พ.ศ. 2519–2526

[แก้]
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคกิจประชาธิปไตย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายสมพร จุรีมาศ นายสมพร จุรีมาศ (เสียชีวิต) นางสาวศิริพันธ์ จุรีมาศ
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
(แทนนายสมพร/ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์ พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์ พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
นายสุธรรม ปัทมดิลก ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ
2 นายโกศล แวงวรรณ นายโกศล แวงวรรณ นายประสงค์ โพดาพล
นายเฉลียว คล้ายหนองทรวง นายยงยุทธ ขัติยนนท์ นายเฉลียว คล้ายหนองทรวง
3 นายเจริญ กลางคาร ร้อยตำรวจเอก พงศ์พันธ์ พงศ์สยาม (เสียชีวิต) นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์
นายไวกูณฐ์ ศิริสังข์ไชย
(แทนร้อยตำรวจเอก พงศ์พันธ์)
นายดุลย์ ดวงเกตุ นายเวียง วรเชษฐ์

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

[แก้]
      พรรคกิจประชาคม
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคพลังสังคมประชาธิปไตย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคเอกภาพ
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
1 นางสาวอุ่นเรือน อารีเอื้อ นายประณต เสริฐวิชา นายบรรจง โฆษิตจิรนันท์ นายบรรจง โฆษิตจิรนันท์
นายอนุรักษ์ จุรีมาศ นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นางศิริพันธ์ จุรีมาศ นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ นายฉลาด ขามช่วง
2 นายระวี หิรัญโชติ
นายเวียง วรเชษฐ์ นายชัชวาลย์ ชมภูแดง นายชัชวาลย์ ชมภูแดง นายชัชวาลย์ ชมภูแดง
นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ นายเกษม มาลัยศรี
3 นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล นายเยี่ยมพล พลเยี่ยม นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล
นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ นายเอกภาพ พลซื่อ

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ นายเวียง วรเชษฐ์
นายฉลาด ขามช่วง
2 นายศักดา คงเพชร นายศักดา คงเพชร
นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายชัชวาลย์ ชมภูแดง นายระวี หิรัญโชติ
3 นายเอกภาพ พลซื่อ
นายชัยศักดิ์ ทะไกรราช นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคถิ่นไทยพรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
2 นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ นายฉลาด ขามช่วง
นายบุญเติม จันทะวัฒน์
(แทนนายเศกสิทธิ์)
3 นายฉลาด ขามช่วง
( / เลือกตั้งใหม่)
นายเอกภาพ พลซื่อ
4 นายเอกภาพ พลซื่อ นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
5 นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ นายนิสิต สินธุไพร
6 นายนิสิต สินธุไพร นายกิตติ สมทรัพย์
7 นายกิตติ สมทรัพย์ นายศักดา คงเพชร
8 นายศักดา คงเพชร นายมังกร ยนต์ตระกูล
9 นายเวียง วรเชษฐ์
( / เลือกตั้งใหม่)
ยุบเขต 9

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายฉลาด ขามช่วง
นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์
นายวราวงษ์ พันธุ์ศิลา
2 นายนิสิต สินธุไพร
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายปิยะรัช หมื่นแสน
(แทนนายนิสิต)
นายศักดา คงเพชร
นายกิตติ สมทรัพย์
3 นายนพดล พลซื่อ
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางรัชนี พลซื่อ
(แทนนายนพดล)
นายนิรมิต สุจารี

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคพลังประชารัฐพรรคกล้าธรรม
      พรรคไทยสร้างไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวราวงษ์ พันธุ์ศิลา นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
2 นายฉลาด ขามช่วง
3 นายนิรมิต สุจารี นางรัชนี พลซื่อ
( / รอคำสั่งศาล)
4 นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ นายนรากร นาเมืองรักษ์
5 นางเอมอร สินธุไพร นางสาวจิราพร สินธุไพร
6 นายกิตติ สมทรัพย์
7 นายศักดา คงเพชร นายชัชวาล แพทยาไทย
8 นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ ยุบเขต 8 นางสาวชญาภา สินธุไพร

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]