ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดชุมพร
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง109,954 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งรวมไทยสร้างชาติ (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดชุมพร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดชุมพรมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงสโมสรราชกิจ (คอยู่จีน ณ ระนอง)

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสวี (ยกเว้นตำบลเขาค่ายและตำบลนาสัก) และอำเภอเมืองชุมพร (ยกเว้นตำบลนาชะอัง ตำบลบางลึก ตำบลหาดพันไกร ตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา ตำบลขุนกระทิง และตำบลถ้ำสิงห์)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าแซะ, อำเภอปะทิว และอำเภอเมืองชุมพร (เฉพาะตำบลนาชะอัง ตำบลบางลึก ตำบลหาดพันไกร ตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา ตำบลขุนกระทิง และตำบลถ้ำสิงห์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพะโต๊ะ, อำเภอละแม, อำเภอหลังสวน, อำเภอทุ่งตะโก และอำเภอสวี (เฉพาะตำบลเขาค่ายและตำบลนาสัก)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสวี (ยกเว้นตำบลเขาค่ายและตำบลเขาทะลุ) และอำเภอเมืองชุมพร (ยกเว้นตำบลบางลึก ตำบลหาดพันไกร ตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา และตำบลถ้ำสิงห์)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปะทิว, อำเภอท่าแซะ และอำเภอเมืองชุมพร (เฉพาะตำบลบางลึก ตำบลหาดพันไกร ตำบลวังใหม่ ตำบลบ้านนา และตำบลถ้ำสิงห์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพะโต๊ะ, อำเภอละแม, อำเภอหลังสวน, อำเภอทุ่งตะโก และอำเภอสวี (เฉพาะตำบลเขาค่ายและตำบลเขาทะลุ)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 หลวงสโมสรราชกิจ (คออยู่จีน ณ ระนอง)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 พันตรี หลวงอภิบาลภูวนาถ (สังข์ นาคะวัจนะ)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 หลวงศรีสุพรรณดิฐ (เผียน ชุมวรฐายี)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายประมวล กุลมาตย์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)
ชุดที่ 6 พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายศิรินทร์ รักศรีวงศ์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายประมวล กุลมาตย์

ชุดที่ 11–16; พ.ศ. 2518–2531

[แก้]
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคกิจประชาคมพรรคเอกภาพ
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายประมวล กุลมาตย์ นายณรงค์ บุษยวิทย์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายพินัย รุโจปการ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายประมวล กุลมาตย์ นายธีรพันธ์ เพ็ชรสุวรรณ์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายพินัย รุโจปการ
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ นายจัตุรนต์ คชสีห์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายธีรพันธ์ เพ็ชรสุวรรณ์ นายจัตุรนต์ คชสีห์

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย
นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์
นายวีรเทพ สุวรรณสว่าง นายสุวโรช พะลัง

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย
2 นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ นายสุวโรช พะลัง
3 นายสุวโรช พะลัง นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายชุมพล จุลใส
นายสราวุธ อ่อนละมัย
นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมพลังประชาชาติไทย → พรรครวมพลัง
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายชุมพล จุลใส
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายสราวุธ อ่อนละมัย นายธีระชาติ ปางวิรุฬรักษ์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายชุมพล จุลใส
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี / พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ)
นายสุพล จุลใส
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายอิสรพงษ์ มากอำไพ
(แทนนายชุมพล)
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายวิชัย สุดสวาสดิ์ นายสันต์ แซ่ตั้ง นายสุพล จุลใส

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]