จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนราธิวาส มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์[แก้]
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนราธิวาสมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนชำนาญภาษา (ฤทธิ์ รัตนศรีศุข)[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 7 สมัย ได้แก่ นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดนราธิวาส คือ นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ (จากการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง[แก้]
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489
|
พ.ศ. 2491
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495
|
พ.ศ. 2500/1 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512
|
พ.ศ. 2518
|
พ.ศ. 2519 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2522
|
พ.ศ. 2526
|
พ.ศ. 2529
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร และอำเภอตากใบ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ และอำเภอระแงะ |
|
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร และอำเภอตากใบ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และ กิ่งอำเภอเจาะไอร้อง |
|
พ.ศ. 2539
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาสและอำเภอตากใบ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก และอำเภอแว้ง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และอำเภอเจาะไอร้อง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ, อำเภอยี่งอ และอำเภอบาเจาะ |
 |
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส และอำเภอยี่งอ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตากใบ และอำเภอสุไหงโก-ลก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเจาะไอร้อง, อำเภอระแงะ และอำเภอจะแนะ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ และอำเภอบาเจาะ · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอแว้ง และอำเภอสุคิริน |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร, อำเภอตากใบ และอำเภอสุไหงโก-ลก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และอำเภอเจาะไอร้อง |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาสและอำเภอตากใบ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก และอำเภอแว้ง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และอำเภอเจาะไอร้อง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ, อำเภอยี่งอ และอำเภอบาเจาะ |
 |
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอยี่งอและอำเภอเมืองนราธิวาส · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตากใบและอำเภอสุไหงโก-ลก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแว้ง, อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอเจาะไอร้อง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระแงะ, อำเภอจะแนะ และอำเภอสุคิริน · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ และอำเภอบาเจาะ |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]
ชุดที่ 8–11; พ.ศ. 2500–2518[แก้]
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคธรรมสังคม
ชุดที่ 12–16; พ.ศ. 2518–2531[แก้]
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
- พรรคชาติไทย
- พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคประชาชน → พรรคเอกภาพ
- พรรครวมไทย → พรรคเอกภาพ
ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539[แก้]
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคความหวังใหม่ → พรรคไทยรักไทย
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคชาติไทย
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]
- พรรคเพื่อแผ่นดิน
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคมาตุภูมิ
- พรรคชาติไทยพัฒนา
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคพลังประชารัฐ
- พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)
รูปภาพ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|