ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสระบุรี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง115,538 (ก้าวไกล)
103,210 (เพื่อไทย)
47,311 (พลังประชารัฐ)
46,634 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (1)
เพื่อไทย (1)
กล้าธรรม (1)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดสระบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสระบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ร้อยตรี บุญแถม ปิตยานนท์[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอหนองโดน, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอเสาไห้ และอำเภอดอนพุด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง, อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก และกิ่งอำเภอวังม่วง
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอหนองโดน, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอเสาไห้ และอำเภอดอนพุด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง, อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก และอำเภอวังม่วง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอแก่งคอย (เฉพาะตำบลห้วยแห้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวังม่วง และอำเภอแก่งคอย (ยกเว้นตำบลห้วยแห้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง, อำเภอหนองแซง และอำเภอเสาไห้ (เฉพาะตำบลเมืองเก่า ตำบลเสาไห้ ตำบลสวนดอกไม้ ตำบลม่วงงาม และตำบลเริงราง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอหนองโดน, อำเภอดอนพุด และอำเภอเสาไห้ (ยกเว้นตำบลเมืองเก่า ตำบลเสาไห้ ตำบลสวนดอกไม้ ตำบลม่วงงาม และตำบลเริงราง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอวังม่วง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแค, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอวิหารแดง, อำเภอเสาไห้, อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองโดน และอำเภอดอนพุด
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรีและอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวังม่วง และอำเภอแก่งคอย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองแค, อำเภอวิหารแดง และอำเภอหนองแซง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอหนองโดน, อำเภอดอนพุด และอำเภอเสาไห้
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสระบุรี, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอพระพุทธบาท
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแก่งคอย, อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวิหารแดง และอำเภอวังม่วง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองแค, อำเภอบ้านหมอ, อำเภอเสาไห้, อำเภอหนองแซง, อำเภอหนองโดน และอำเภอดอนพุด
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอเมืองสระบุรี (ยกเว้นตำบลหนองโน) และอำเภอแก่งคอย (เฉพาะตำบลห้วยแห้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอมวกเหล็ก, อำเภอวังม่วง และอำเภอแก่งคอย (ยกเว้นตำบลห้วยแห้ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวิหารแดง, อำเภอหนองแค, อำเภอหนองแซง และอำเภอเมืองสระบุรี (เฉพาะตำบลหนองโน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสาไห้, อำเภอพระพุทธบาท, อำเภอหนองโดน, อำเภอดอนพุด และอำเภอบ้านหมอ
4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ร้อยตรี บุญแถม ปิตยานนท์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายดิษฐ์ คัมภีรยศ
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายธวัช สุประภาตะนันท์ (เสียชีวิต)
นายปรุง ลักษณะสมพงษ์ (แทนนายธวัช)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 ร้อยเอก ประเสริฐ สุดบรรทัด
สิงหาคม พ.ศ. 2489 ขุนสรกิจวิจารณ์ (เลือกตั้งเพิ่ม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 ร้อยเอก ประเสริฐ สุดบรรทัด
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พันเอก ประมาณ อดิเรกสาร

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคเสรีมนังคศิลาพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 พ.ศ. 2500/1 พลตรี ประมาณ อดิเรกสาร นายสมบัติ พัฒน์พงศ์พานิช
ชุดที่ 9 พ.ศ. 2500/2 พลตรี ประมาณ อดิเรกสาร พันโท ประเสริฐ สุดบรรทัด
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายถวิล จันทร์วิทัน นางพูลศรี สุดบรรทัด

ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคพลังใหม่
      พรรคราษฎร
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 พลตรี ประมาณ อดิเรกสาร นายสละ หนูเงิน พันโท ประเสริฐ สุดบรรทัด
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายถวิล จันทร์วิทัน
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายอนันต์ บูรณวนิช นายประสาทพร เทพลิบ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายเงิน บุญสุภา นายปองพล อดิเรกสาร
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายเงิน บุญสุภา นายบัญญัติ วงษ์ประยูร
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายบัญญัติ วงษ์ประยูร
ชุดที่ 17 พ.ศ. 2535/1 พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร นายเงิน บุญสุภา นายปองพล อดิเรกสาร
ชุดที่ 18 พ.ศ. 2535/2 นายเงิน บุญสุภา นายสมชาย สุนทรวัฒน์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายบัญญัติ วงษ์ประยูร นายเงิน บุญสุภา
พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร นายวีระพล อดิเรกสาร
2 นายสมชาย สุนทรวัฒน์
นายปองพล อดิเรกสาร

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายเงิน บุญสุภา ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร
2 นายยงยศ อดิเรกสาร นายพศ อดิเรกสาร
3 นายสมชาย สุนทรวัฒน์ นายฉัตรชัย ศิลาพร
4 นายวีระพล อดิเรกสาร

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย → ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย
ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร *
2 นายวีระพล อดิเรกสาร
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายองอาจ วงษ์ประยูร
(แทนนายวีระพล)
นายวัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ
หมายเหตุ :
  1. ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร ภายหลังมีสถานะ "ไม่สังกัดพรรค" เนื่องจากเข้าร่วมงานกับพรรคภูมิใจไทยจึงถูกพรรคเพื่อไทยขับออกจากพรรค[3]

ชุดที่ 24-26; พ.ศ. 2554-2566

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรคพลังประชารัฐพรรคกล้าธรรม

เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย นายสรพัช ศรีปราชญ์
2 นายอรรถพล วงษ์ประยูร นายสมบัติ อำนาคะ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายอรรถพล วงษ์ประยูร
3 นายวัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ นายองอาจ วงษ์ประยูร
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายวัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ
4 นายองอาจ วงษ์ประยูร ยุบเขต 4 นายองอาจ วงษ์ประยูร

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. "ศาลรธน.วินิจฉัย 'จุมพฏ-ปรพล' พ้นส.ส.เพื่อไทย". www.thairath.co.th. 2011-04-27.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]