สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครศรีธรรมราชมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอฉวาง และอำเภอทุ่งสง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอหัวไทร
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา และอำเภอสิชล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งสง และอำเภอร่อนพิบูลย์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนังและอำเภอหัวไทร
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 6 คน (เขตละ 6 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่ และกิ่งอำเภอพิปูน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, กิ่งอำเภอพิปูน และกิ่งอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน และกิ่งอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน และอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอบางชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, กิ่งอำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, อำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพระพรหม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอชะอวด และอำเภอจุฬาภรณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอนบพิตำ
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพระพรหม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอชะอวด และอำเภอจุฬาภรณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน และอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, กิ่งอำเภอนบพิตำ และกิ่งอำเภอช้างกลาง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่าวัง ตำบลคลัง ตำบลในเมือง ตำบลโพธิ์เสด็จ และตำบลปากพูน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพรหมคีรี, อำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลดอนตะโก ตำบลท่าศาลา ตำบลโพธิ์ทอง ตำบลโมคลาน และตำบลหัวตะพาน), อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่างิ้ว ตำบลนาทราย และตำบลนาเคียน) และกิ่งอำเภอนบพิตำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระพรหม, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าซัก ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลปากนคร และตำบลกำแพงเซา) และอำเภอปากพนัง (เฉพาะตำบลคลองน้อย ตำบลคลองกระบือ และตำบลบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขนอม, อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว ตำบลท่าขึ้น และตำบลไทยบุรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพิปูน, อำเภอลานสกา, อำเภอฉวาง (ยกเว้นตำบลฉวางและตำบลนากะชะ) และกิ่งอำเภอช้างกลาง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบางขัน, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอนาบอน, อำเภอถ้ำพรรณรา และอำเภอฉวาง (เฉพาะตำบลฉวางและตำบลนากะซะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอทุ่งสง
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอจุฬาภรณ์, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอชะอวด, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอปากพนัง (เฉพาะตำบลชะเมา ตำบลป่าระกำ และตำบลเกาะทวด)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอหัวไทรและอำเภอปากพนัง (ยกเว้นตำบลชะเมา ตำบลป่าระกำ ตำบลเกาะทวด ตำบลคลองน้อย ตำบลคลองกระบือ และตำบลบ้านใหม่)
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอพระพรหม, อำเภอจุฬาภรณ์, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน, อำเภอฉวาง, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, อำเภอลานสกา, อำเภอถ้ำพรรณรา และกิ่งอำเภอช้างกลาง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอท่าศาลา, อำเภอขนอม, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอสิชล และอำเภอนบพิตำ
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลท่าวัง ตำบลคลัง ตำบลโพธิ์เสด็จ ตำบลนาเคียน ตำบลกำแพงเซา ตำบลนาทราย ตำบลท่าซัก ตำบลปากนคร และตำบลท่าไร่ (ในเขตเทศบาลตำบลปากนคร)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพระพรหม, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลไชยมนตรี ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก และตำบลท่าไร่ (นอกเขตเทศบาลตำบลปากนคร)] และอำเภอปากพนัง [ยกเว้นตำบลบางตะพง ตำบลบางศาลา ตำบลปากแพรก ตำบลขนาบนาก ตำบลท่าพยา ตำบลบ้านเพิง และตำบลบางพระ (นอกเขตเทศบาลเมืองปากพนัง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอหัวไทร และอำเภอปากพนัง [เฉพาะตำบลบางตะพง ตำบลบางศาลา ตำบลปากแพรก ตำบลขนาบนาก ตำบลท่าพยา ตำบลบ้านเพิง และตำบลบางพระ (นอกเขตเทศบาลเมืองปากพนัง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชะอวด, อำเภอจุฬาภรณ์ และอำเภอร่อนพิบูลย์ (ยกเว้นตำบลหินตกและตำบลเสาธง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอทุ่งสงและอำเภอนาบอน (ยกเว้นตำบลทุ่งสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบางขัน, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอถ้ำพรรณรา, อำเภอฉวาง (เฉพาะตำบลฉวาง ตำบลไม้เรียง ตำบลกะเปียด และตำบลนากะชะ) และอำเภอนาบอน (เฉพาะตำบลทุ่งสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพิปูน, อำเภอช้างกลาง, อำเภอลานสกา, อำเภอร่อนพิบูลย์ (เฉพาะตำบลหินตกและตำบลเสาธง) และอำเภอฉวาง (ยกเว้นตำบลฉวาง ตำบลไม้เรียง ตำบลกะเปียด และตำบลนากะชะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพรหมคีรี, อำเภอนบพิตำ, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่างิ้วและตำบลปากพูน) และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลท่าศาลา ตำบลดอนตะโก ตำบลโมคลาน และตำบลโพธิ์ทอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอขนอม, อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (ยกเว้นตำบลท่าศาลา ตำบลดอนตะโก ตำบลโมคลาน และตำบลโพธิ์ทอง)
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลคลัง ตำบลท่าวัง ตำบลท่าซัก ตำบลปากนคร ตำบลท่าไร่ ตำบลบางจาก ตำบลท่าเรือ ตำบลในเมือง ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลโพธิ์เสด็จ และตำบลนาเคียน (ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอหัวไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระพรหม, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอชะอวด และอำเภอจุฬาภรณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอทุ่งสงและอำเภอบางขัน
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอถ้ำพรรณรา, อำเภอฉวาง และอำเภอพิปูน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอลานสกา, อำเภอช้างกลาง และอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอท่าศาลาและอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลปากพูน ตำบลท่างิ้ว ตำบลกำแพงเซา ตำบลนาทราย และตำบลนาเคียน (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสิชล, อำเภอขนอม, อำเภอนบพิตำ และอำเภอพรหมคีรี
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก ตำบลท่าไร่ ตำบลปากนคร ตำบลในเมือง ตำบลคลัง ตำบลท่าวัง ตำบลนาเคียน (ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช) และตำบลโพธิ์เสด็จ (ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพระพรหมและอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลกำแพงเซา ตำบลท่างิ้ว ตำบลนาทราย ตำบลปากพูน ตำบลท่าซัก ตำบลนาเคียน (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช) และตำบลโพธิ์เสด็จ (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนังและอำเภอหัวไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอชะอวด
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอจุฬาภรณ์, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอลานสกา
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอทุ่งสง (ยกเว้นตำบลเขาขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอถ้ำพรรณรา, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน และอำเภอทุ่งสง (เฉพาะตำบลเขาขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนาบอน, อำเภอช้างกลาง, อำเภอฉวาง และอำเภอพิปูน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอนบพิตำ, อำเภอพรหมคีรี และอำเภอท่าศาลา (ยกเว้นตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว และตำบลท่าขึ้น)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอขนอม, อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว และตำบลท่าขึ้น)
10 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476[แก้]

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489[แก้]

      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคสหชีพ
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายฉ่ำ จำรัสเนตร ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร นายไสว สุทธิพิทักษ์
2 ขุนบุรณวาท (พร้อย ณ นคร) นายเปี่ยม บุณยะโชติ นายคล่อง ไตรสุวรรณ ขุนประสงค์สุขการี (สมบุญ ลาภเจริญ)
3 นายพินทุ พฤกษศรี

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายภักดี พัฒนภักดี
นายฉ่ำ จำรัสเนตร
เลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2492 นายเปี่ยม บุณยะโชติ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495[แก้]

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายน้อม อุปรมัย
2 พันโท ทอง ศิริเวชพันธ์
3 นายปลื้ม กมุกมะกุล

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายฉ่ำ จำรัสเนตร นายฉ่ำ จำรัสเนตร
นายไสว สวัสดิสาร
นายเปี่ยม บุณยะโชติ นายปรีดา ด่านตระกูล
นายน้อม อุปรมัย นายน้อม อุปรมัย

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 พลตำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช
2 นายชอบ ภารา
3 นายแนบ ผ่องแผ้ว
4 นายสุรินทร์ มาศดิตถ์
5 นายมนัส สุวรรณรัตน์
6 นายน้อม อุปรมัย

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ นางสาวสุพัตรา มาศดิตถ์
นายโสภณ วัชรสินธุ์ นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
2 ร้อยตำรวจโท ระบิล นานากุล นายเพิ่มศักดิ์ จริตงาม นายเอื้อม อุบลพันธุ์
นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายเกษม เจริญพานิช นายนิวัตร จินตวร
นายอาคม สุวรรณนพ นายภักดี กุลบุญ นายนิยม คำแหง
3 นายมนัส สุวรรณรัตน์ นายณรงค์ นุ่นทอง นายคล่อง รักษ์ทอง
นายเสริม มุสิกวัตร นายธงชาติ รัตนวิชา นายจรัส โพธิ์ศิริ

ชุดที่ 14–18; พ.ศ. 2526–2535[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคชาติไทย
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)พรรคเอกภาพ
      พรรคพลังธรรม
      พรรคเอกภาพ
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นางสาวสุพัตรา มาศดิตถ์ นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
นายมาโนชญ์ วิชัยกุล นายเดชา สามารถ นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
2 นายถวิล ไพรสณฑ์ นางสุพัตรา มาศดิตถ์ คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
นายบุญส่ง ชำนาญกิจ นายนิยม คำแหง นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายวัน ศรีเปารยะ นางสุพัตรา มาศดิตถ์ พลเอก หาญ ลีนานนท์ นายตรีพล เจาะจิตต์
3 นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นายณรงค์ นุ่นทอง นายสุธรรม แสงประทุม นายณรงค์ นุ่นทอง นายสุธรรม แสงประทุม
นายธงชาติ รัตนวิชา นายวิทยา แก้วภราดัย นายอภิชาต การิกาญจน์ นายวิทยา แก้วภราดัย

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
2 นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นายวิทยา แก้วภราดัย
นายอภิชาต การิกาญจน์
3 นายตรีพล เจาะจิตต์
คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
4 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางฮูวัยดีย๊ะ พิศสุวรรณ อุเซ็ง นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
2 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
3 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
4 นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
5 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
6 นายตรีพล เจาะจิตต์ นายเทพไท เสนพงศ์
7 นายประกอบ รัตนพันธ์
8 นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์
9 นายอภิชาต การิกาญจน์
10 นายวิทยา แก้วภราดัย

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
2 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายเทพไท เสนพงศ์
นายประกอบ รัตนพันธ์
3 นายวิทยา แก้วภราดัย
นายอภิชาต การิกาญจน์
4 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ นายรงค์ บุญสวยขวัญ
2 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์ นายสัณหพจน์ สุขศรีเมือง
3 นายวิทยา แก้วภราดัย
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายเทพไท เสนพงศ์
(พ้นสภาพเนื่องจากถูกพิพากษาจำคุกระหว่างการดำรงตำแหน่ง)
นายอาญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ
(แทนนายเทพไท)
4 นายอภิชาต การิกาญจน์ นายประกอบ รัตนพันธ์
5 นายประกอบ รัตนพันธ์ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
6 นายเทพไท เสนพงศ์ นายชัยชนะ เดชเดโช
7 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ นายสายัณห์ ยุติธรรม
8 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
9 นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล ยุบเขต 9

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายราชิต สุดพุ่ม
2 นายทรงศักดิ์ มุสิกอง
3 นายพิทักษ์เดช เดชเดโช
4 ว่าที่ร้อยโท ยุทธการ รัตนมาศ
5 นายชัยชนะ เดชเดโช
6 นายสุธรรม จริตงาม
7 นายษฐา ขาวขำ
8 นางมุกดาวรรณ เลื่องสีนิล
รอคำสั่งเลือกตั้งซ่อม
9 นางอวยพรศรี เชาวลิต
10 นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]