สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์[แก้]
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเลมียด หงสประภาส[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายมนตรี พงษ์พานิช และนายบุญพันธ์ แขวัฒนะ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- หงสประภาส (2 คน) ได้แก่ นายเลมียด หงสประภาส และหลวงประสิทธิ์นรกรรม (เจี่ยน หงสประภาส)
- สภาวสุ (2 คน) ได้แก่ นายประมวล สภาวสุ และนายกุมพล สภาวสุ
- ตรีสุขี (2 คน) ได้แก่ นายสมพงษ์ ตรีสุขี และนายพงษ์อุดม ตรีสุขี
- พันธ์เจริญวรกุล (2 คน) ได้แก่ นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล และนายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล
- ชีวานันท์ (2 คน) ได้แก่ นายพ้อง ชีวานันท์ และนายนพ ชีวานันท์
เขตเลือกตั้ง[แก้]
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3] |
นายเลมียด หงสประภาส |
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489[แก้]
เขต | ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 | ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 | ชุดที่ 4 | |
มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
1 | นายประเสริฐ ธารีสวัสดิ์ | หลวงประสิทธิ์นรกรรม (เจี่ยน หงสประภาส) | นายวิโรจน์ กมลพันธ์ | พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ |
2 | นายเยื้อน พาณิชวิทย์ | นายฟื้น สุพรรณสาร | นายเยื้อน พานิชวิทย์ | นายปรีดี พนมยงค์ (ลาออก) หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ (แทนนายปรีดี) |
ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายฟื้น สุพรรณสาร |
หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ | ||
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | พันตรี หลวงจบกระบวนยุทธ |
นายฟื้น สุพรรณสาร |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายประเสริฐ บุญสม | นายสมศักดิ์ ชมจันทร์ | พันตรี หลวงจบกระบวนยุทธ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายประเสริฐ บุญสม | นายสมศักดิ์ ชมจันทร์ | นายนิคม สุขพัฒน์ธี |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายประเสริฐ บุญสม |
2 | ว่าที่ร้อยตรี วิเชียร กลิ่นสุคนธ์ |
3 | นายอดินาท ควรพจน์ |
4 | นายเผอิญ ศรีภูธร |
ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535[แก้]
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสันติชน
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคเสรีนิยม
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายประมวล สภาวสุ | นายอนันต์ บูรณวนิช | นายอุทัย ชุณหะจันทน | นายประเสริฐ บุญสม |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายมนตรี พงษ์พานิช | นายเสรี มโยทาร | นายสมพงษ์ ตรีสุขี | นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายมนตรี พงษ์พานิช | นายประมวล สภาวสุ | นายประเสริฐ บุญสม | นายสายันห์ สากิยะ |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายประมวล สภาวสุ | พันเอก ณรงค์ กิตติขจร | ||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | พันเอก ณรงค์ กิตติขจร | นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ | ||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | ||||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายประมวล สภาวสุ | พลโท เขษม ไกรสรรณ์ | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายประมวล สภาวสุ | นายพงษ์อุดม ตรีสุขี |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]
เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายมนตรี พงษ์พานิช | |
นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง | ||
นายประมวล สภาวสุ | นายกุมพล สภาวสุ | |
2 | นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ | |
นายพงษ์อุดม ตรีสุขี | นายพงษ์อุดม ตรีสุขี |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]
เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร | |
2 | นายพ้อง ชีวานันท์ | |
3 | นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล | |
4 | นายวิทยา บุรณศิริ | |
5 | นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายสุรเชษฐ์ ชัยโกศล |
นายพ้อง ชีวานันท์ | |
นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร (พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล/เลือกตั้งใหม่)[4] | |
2 | นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล |
นายวิทยา บุรณศิริ |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554-2566[แก้]
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร | นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร | นายทวิวงศ์ โตทวิวงศ์ |
2 | นายพ้อง ชีวานันท์ | นายนพ ชีวานันท์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
นายชริน วงศ์พันธ์เที่ยง |
3 | นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล | นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล | นางสาวพิมพฤดา ตันจรารักษ์ |
4 | นายวิทยา บุรณศิริ | นายจิรทัศ ไกรเดชา | นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล |
5 | นายองอาจ วชิรพงศ์ | ยุบเขต 5 | นายประดิษฐ์ สังขจาย |
รูปภาพ[แก้]
-
นายฟื้น สุพรรณสาร
-
นายวิโรจน์ กมลพันธ์
-
พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
-
นายปรีดี พนมยงค์
-
หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ
-
นายประมวล สภาวสุ
-
นายมนตรี พงษ์พานิช
-
พันเอกณรงค์ กิตติขจร
-
นายพงษ์อุดม ตรีสุขี
-
นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง
-
นายองอาจ วชิรพงศ์
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
- ↑ ไทยรัฐออนไลน์ (3 Nov 2010). "6ส.ส.พ้นสภาพ ศาลตัดสิทธิ์ ถือครองหุ้นผิด". thairath. สืบค้นเมื่อ 1 Apr 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เก็บถาวร 2014-12-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน