สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 350 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์[แก้]
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพิจิตรมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนคุรุการพิจิตร (เทียม พฤกษะวัน)[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 8 สมัย ได้แก่ นายไพฑูรย์ แก้วทอง และพลตรี สนั่น ขจรประศาสน์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดพิจิตร คือ นางยุพา อุดมศักดิ์ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2519)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- บุญเสรฐ (3 คน) ได้แก่ จ่าสิบตรี กรี บุญเสรฐ, พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ และนายนาวิน บุญเสรฐ
- ภัทรประสิทธิ์ (3 คน) ได้แก่ นายวิศาล ภัทรประสิทธิ์, นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ และนายวินัย ภัทรประสิทธิ์
เขตการเลือกตั้ง[แก้]
การเลือกตั้ง | เขตการเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | |||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และ กิ่งอำเภอวังทรายพูน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก และอำเภอโพทะเล |
![]() |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) |
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และ กิ่งอำเภอทับคล้อ | ||
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ | ||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอวังทรายพูน และ กิ่งอำเภอสากเหล็ก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ | ||
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอวังทรายพูน และ กิ่งอำเภอสากเหล็ก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล, อำเภอทับคล้อ, กิ่งอำเภอดงเจริญ และ กิ่งอำเภอบึงนาราง | ||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอวังทรายพูน, อำเภอเมืองพิจิตร (ยกเว้นตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า) และกิ่งอำเภอสากเหล็ก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวชิรบารมี, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอเมืองพิจิตร (เฉพาะตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และกิ่งอำเภอบึงนาราง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอทับคล้อ และกิ่งอำเภอดงเจริญ |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอวังทรายพูน, อำเภอสากเหล็ก และอำเภอวชิรบารมี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล, อำเภอทับคล้อ, อำเภอดงเจริญ และอำเภอบึงนาราง |
![]() |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร (เฉพาะตำบลไผ่ขวาง ตำบลท่าฬ่อ ตำบลปากทาง ตำบลท่าหลวง ตำบลบ้านบุ่ง ตำบลฆะมัง ตำบลหัวดง ตำบลป่ามะคาบ ตำบลสายคำโห้ ตำบลดงกลาง ตำบลดงป่าคำ และเทศบาลเมืองพิจิตร), อำเภอวังทรายพูน, อำเภอสากเหล็ก และอำเภอทับคล้อ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองพิจิตร (เฉพาะตำบลย่านยาว ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า), อำเภอวชิรบารมี, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอตะพานหิน (เฉพาะตำบลวังสำโรง ตำบลทับหมัน ตำบลวังหว้า ตำบลห้วยเกตุ ตำบลคลองคูณ และเทศบาลเมืองตะพานหิน) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอตะพานหิน (เฉพาะตำบลงิ้วราย ตำบลหนองพยอม ตำบลคลองคูณ ตำบลไผ่หลวง ตำบลไทรโรงโขน ตำบลดงตะขบ และตำบลทุ่งโพธิ์), อำเภอบึงนาราง, อำเภอโพทะเล, อำเภอบางมูลนาก และอำเภอดงเจริญ |
3 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม และอำเภอวชิรบารมี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสากเหล็ก, อำเภอวังทรายพูน, อำเภอตะพานหิน, อำเภอทับคล้อ และอำเภอดงเจริญ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล, อำเภอบึงนาราง และอำเภอโพธิ์ประทับช้าง |
![]() |
3 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | ขุนคุรุการพิจิตร (เทียม พฤกษะวัน) |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายเพิ่ม วงศ์ทองเหลือ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | นายแก้ว สิงหะคเชนทร์ |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายเพิ่ม วงศ์ทองเหลือ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายจิตร สุวรรณโรจน์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายเพิ่ม วงศ์ทองเหลือ |
พ.ศ. 2492 | นายเผด็จ จิราภรณ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500[แก้]
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคประชาธิปัตย์
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | นายเผด็จ จิราภรณ์ | นายแก้ว สิงหคะเชนทร์ |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | พันโท เผ่าชัย บุปพะกสิกร | นายแก้ว สิงหะคเชนทร์ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | จ่าสิบตรี กรี บุญเสรฐ | นายยะเลิศร์ วงศ์ทองเหลือ |
ชุดที่ 10–12; พ.ศ. 2512–2519[แก้]
- พรรคสหประชาไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคพัฒนาจังหวัด
- พรรคพลังใหม่
- พรรคสังคมชาตินิยม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก | นายยะเลิศร์ วงศ์ทองเหลือ | นายบุญเจตน์ จันทร์ศรีวงศ์ |
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายวิศาล ภัทรประสิทธิ์ | นายไพฑูรย์ แก้วทอง | |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นางยุพา อุดมศักดิ์ | เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก |
ชุดที่ 13–20; พ.ศ. 2522–2539[แก้]
- พรรคกิจสังคม
- พรรคพลังใหม่
- พรรคชาติประชาธิปไตย
- พรรครวมไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นางยุพา อุดมศักดิ์ | นายไพฑูรย์ แก้วทอง | พลตรี สนิธ สังข์จันทร์ | นายโตก รอดรักษา |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นางยุพา อุดมศักดิ์ | นายสุเทพ วสันติวงศ์ | พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ | นายทองปอนด์ สิทธิเกษร |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายไพฑูรย์ แก้วทอง | นายโตก รอดรักษา | ||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายบุญเสริม ถาวรกูล | |||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายธำรง พัฒนรัฐ | นายไพฑูรย์ แก้วทอง | พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ | พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายบุญเสริม ถาวรกูล | พันตำรวจโท สานิตย์ สุรังสี | ||
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ | พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ | ||
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายไพฑูรย์ แก้วทอง | นายวิทยา สุขิตานนท์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]
เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ | |
2 | นายนราพัฒน์ แก้วทอง ( ![]() |
นางสุณีย์ เหลืองวิจิตร |
3 | นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ | นายนาวิน บุญเสรฐ ![]() |
นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ (แทนนายนาวิน) | ||
4 | พันตำรวจโทอดุลย์ บุญเสรฐ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายนราพัฒน์ แก้วทอง |
นายวินัย ภัทรประสิทธิ์ | |
2 | นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ |
พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | เขตเลือกตั้งที่ 3 |
ชุดที่ 24 | พ.ศ. 2554 | นายวินัย ภัทรประสิทธิ์ | นายนราพัฒน์ แก้วทอง | นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ |
ชุดที่ 25 | พ.ศ. 2562 | นายพรชัย อินทร์สุข | นายภูดิท อินสุวรรณ์ | นายสุรชาติ ศรีบุศกร |
รูปภาพ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งที่แต่ละจังหวัดจะพึงมี และจำนวนเขตเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (10 ก): 2. 24 Jan 2019.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดพิจิตร เก็บถาวร 2011-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน