สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดนครนายก มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครนายกมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ พระยาวิเศษสิงหนาท (หร่าย รัตนกสิกร)[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอปากพลีและอำเภอเมืองนครนายก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านนาและอำเภอองครักษ์
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอปากพลีและอำเภอเมืองนครนายก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านนาและอำเภอองครักษ์
2 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 พระยาวิเศษสิงหนาท (หร่าย รัตนกสิกร)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 พระยาสัจจาภิรมย์ (สรวง ศรีเพ็ญ)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายเย็น ศิริมหา
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489
สิงหาคม พ.ศ. 2489
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายชิต โปษยานนท์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายทองพูน ทิมฉิม

ชุดที่ 8–18; พ.ศ. 2500–2535[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายดุสิต บุญธรรม
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 พันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 พันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 พันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายวานิช พานิชเกรียงไกร
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 พันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายวานิช พานิชเกรียงไกร
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 พันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายเดช บุญ-หลง
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายเดช บุญ-หลง

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายเดช บุญ-หลง นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายวัฒนชัย อิสระเสนารักษ์ นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
(แทนนานวัฒนชัย)
2 นายวิกิจ อิสระเสนารักษ์ นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
(แทนนายวิกิจ / / / เลือกตั้งใหม่)

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ ( / เลือกตั้งใหม่)

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566[แก้]

      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคเพื่อไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 พลตำรวจตรี สุรพล บุญมา นายเกรียงไกร กิตติธเนศวร

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]