ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดนนทบุรี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต8
คะแนนเสียง344,633 (ก้าวไกล)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (8)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดนนทบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 8 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนนทบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงศรีเขตนคร (ปลื้ม สวนะปรีดี)

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1: ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลบางตลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอบางกรวย, อำเภอบางใหญ่, อำเภอไทรน้อย, อำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลบางตลาด)
4 คน
(2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี, อำเภอบางกรวย และอำเภอบางใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอไทรน้อย, อำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี (ยกเว้นตำบลท่าทราย ตำบลบางเขน ตำบลสวนใหญ่ และตำบลบางกร่าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลบางเขน และตำบลสวนใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอบางกรวย, อำเภอบางใหญ่, อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางกร่าง) และอำเภอไทรน้อย (เฉพาะตำบลหนองเพรางาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอบางบัวทอง, อำเภอไทรน้อย (ยกเว้นตำบลหนองเพรางาย) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลคลองข่อย ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลท่าอิฐ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลคลองข่อย ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลท่าอิฐ)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางไผ่ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลตลาดขวัญ และตำบลบางเขน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลบางกระสอ และตำบลไทรม้า) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลท่าอิฐ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอบางใหญ่และอำเภอบางกรวย
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางศรีเมือง ตำบลบางกร่าง และตำบลบางรักน้อย) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางรักใหญ่ ตำบลบางรักพัฒนา ตำบลพิมลราช และตำบลโสนลอย)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลปากเกร็ด ตำบลบางพูด ตำบลบ้านใหม่ ตำบลคลองเกลือ และตำบลบางตลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอไทรน้อย, อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางคูรัด ตำบลบางบัวทอง ตำบลละหาร และตำบลลำโพ) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลคลองข่อย ตำบลบางตะไนย์ ตำบลคลองพระอุดม ตำบลบางพลับ ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลเกาะเกร็ด)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี (ยกเว้นตำบลไทรม้าและตำบลบางรักน้อย), อำเภอบางกรวย และอำเภอบางใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลไทรม้าและตำบลบางรักน้อย), อำเภอปากเกร็ด, อำเภอบางบัวทอง และอำเภอไทรน้อย
6 คน
(2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางเขน ตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางไผ่ ตำบลบางศรีเมือง และตำบลบางกร่าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลบางกระสอ ตำบลไทรม้า และตำบลบางรักน้อย) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลท่าอิฐ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอบางกรวยและอำเภอบางใหญ่ (ยกเว้นตำบลเสาธงหินและตำบลบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลปากเกร็ด ตำบลบางพูด ตำบลบ้านใหม่ ตำบลคลองเกลือ ตำบลบางตลาด และตำบลเกาะเกร็ด)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลบางตะไนย์ ตำบลคลองพระอุดม ตำบลคลองข่อย ตำบลบางพลับ และตำบลอ้อมเกร็ด), อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลพิมลราช ตำบลโสนลอย ตำบลบางรักพัฒนา และตำบลบางรักใหญ่) และอำเภอบางใหญ่ (เฉพาะตำบลเสาธงหิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอไทรน้อย, อำเภอบางใหญ่ (เฉพาะตำบลบ้านใหม่) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางคูรัด ตำบลบางบัวทอง ตำบลละหาร และตำบลลำโพ)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางเขน ตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางไผ่ และตำบลบางศรีเมือง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลบางกระสอ และตำบลไทรม้า) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลท่าอิฐ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอบางกรวยและอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางกร่างและตำบลบางรักน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอบางใหญ่และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางคูรัด)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลปากเกร็ด ตำบลบางพูด ตำบลบ้านใหม่ ตำบลคลองเกลือ และตำบลบางตลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลเกาะเกร็ด ตำบลคลองพระอุดม ตำบลบางพลับ และตำบลอ้อมเกร็ด) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลพิมลราช ตำบลโสนลอย ตำบลบางรักพัฒนา และตำบลบางรักใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 7: อำเภอไทรน้อย, อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางบัวทอง ตำบลละหาร และตำบลลำโพ) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลคลองข่อยและตำบลบางตะไนย์)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลเกาะเกร็ด ตำบลบางพลับ ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลท่าอิฐ) และอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลบางกระสอ และตำบลบางเขน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (ยกเว้นตำบลท่าทราย ตำบลบางกระสอ และตำบลบางเขน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอบางกรวยและอำเภอบางใหญ่ (เฉพาะตำบลบางใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางแม่นาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลเกาะเกร็ด ตำบลบางพลับ ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลท่าอิฐ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอบางใหญ่ (เฉพาะตำบลบางม่วง ตำบลบางเลน และตำบลเสาธงหิน) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางรักใหญ่ ตำบลบางรักพัฒนา ตำบลพิมลราช และตำบลโสนลอย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอไทรน้อยและอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางบัวทอง ตำบลละหาร ตำบลลำโพ และตำบลบางคูรัด)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางกระสอ ตำบลท่าทราย และตำบลบางเขน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางศรีเมือง ตำบลบางกร่าง และตำบลบางรักน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอบางกรวยและอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางไผ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางพูด)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางพูด), อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลลำโพและตำบลละหาร) และอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลไทรม้า)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอบางใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 7: อำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลพิมลราช ตำบลโสนลอย และตำบลบางบัวทอง) และอำเภอไทรน้อย (เฉพาะตำบลไทรน้อยและตำบลคลองขวาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8: อำเภอไทรน้อย (ยกเว้นตำบลไทรน้อยและตำบลคลองขวาง) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางคูรัด ตำบลบางรักพัฒนา และตำบลบางรักใหญ่)
8 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 หลวงศรีเขตนคร (ปลื้ม สวนะปรีดี)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ร้อยตำรวจเอก ฟุ้ง ระงับภัย
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายทองอยู่ เอี่ยมบุญอิ่ม
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายทองอยู่ เอี่ยมบุญอิ่ม[2]
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายกุหลาบ แก้ววิมล
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พันตรี หลวงราชเวชชพิศาล

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายทนง นิยมะสินธุ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายทนง นิยมะสินธุ

ชุดที่ 10–13; พ.ศ. 2512–2522

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายเติม ทับทิมทอง นายประยูร จอประยูร
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายแสวง ศรีมาเสริม
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ร้อยเอก ชะโลม รัตนเสถียร
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายถวิล จันทร์ประสงค์

ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529

[แก้]
      พรรคประชากรไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายประยูร จอประยูร ร้อยเอก ชะโลม รัตนเสถียร นายถวิล จันทร์ประสงค์
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายประชุม รัตนเพียร

ชุดที่ 16–18; พ.ศ. 2531–2535

[แก้]
      พรรคประชากรไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคพลังธรรม
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายประกอบ สังข์โต พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายสนม เปียร์นนท์ นางพิมพา จันทร์ประสงค์
2 นายถวิล จันทร์ประสงค์ นายถวิล จันทร์ประสงค์
นายประชุม รัตนเพียร นายอุดมเดช รัตนเสถียร

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคประชากรไทย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชากรไทยพรรคราษฎร (พ.ศ. 2541)
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายประกอบ สังข์โต นายประกอบ สังข์โต
นายสำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ นายสำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์
นางพิมพา จันทร์ประสงค์ นางพิมพา จันทร์ประสงค์
2 นายถวิล จันทร์ประสงค์ นายฉลอง เรี่ยวแรง
นายอุดมเดช รัตนเสถียร นายสุชาติ บรรดาศักดิ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายอุดมเดช รัตนเสถียร นายนิทัศน์ ศรีนนท์
2 นายนิทัศน์ ศรีนนท์ นายอุดมเดช รัตนเสถียร
3 นางพิมพา จันทร์ประสงค์ นางพิมพา จันทร์ประสงค์
นายสำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์
(แทนนางพิมพา; เสียชีวิต)
นางพิมพา จันทร์ประสงค์
(แทนนายสำเร็จ)
4 พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
5 นายสุชาติ บรรดาศักดิ์
6 นายฉลอง เรี่ยวแรง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายอุดมเดช รัตนเสถียร
นายนิทัศน์ ศรีนนท์
นายมานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์
2 นายสมบัติ สิทธิกรวงศ์
(เสียชีวิต)
นายณรงค์ จันทนดิษฐ
(แทนนายสมบัติ)
นายทศพล เพ็งส้ม
พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายนิทัศน์ ศรีนนท์ นางเจริญ เรี่ยวแรง
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
2 นายอุดมเดช รัตนเสถียร นายจิรพงษ์ ทรงวัชราภรณ์
3 นางวไลพร อัจฉริยะประสิทธิ์ นายมานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์
4 นายมนตรี ตั้งเจริญถาวร
5 นายวันชัย เจริญนนทสิทธิ์ นายวันชัย เจริญนนทสิทธิ์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
6 นายฉลอง เรี่ยวแรง นายภณณัฏฐ์ ศรีอินทร์สุทธิ์

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

[แก้]
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสุรพันธ์ ไวยากรณ์
2 นางปัญญารัตน์ นันทภูษิตานนท์
3 นายอนุสรณ์ แก้ววิเชียร
4 นายนพดล ทิพยชล
5 นายปรีติ เจริญศิลป์
6 นายคุณากร มั่นนทีรัย
7 นายเกียรติคุณ ต้นยาง
8 นายนนท์ ไพศาลลิ้มเจริญกิจ

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์, "นักการเมืองถิ่นจังหวัดนนทบุรี", สถาบันพระปกเกล้า, ชุดสำรวจเพื่อนประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น, ธันวาคม 2553, เข้าถึงได้เมื่อ 4 ตุลาคม 2563[1]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]