สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์[แก้]
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดมหาสารคามมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พระยาสารคามคณาภิบาล (อนงค์ พยัคฆันตร์) และ นายทองม้วน อัตถากร[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายกริช กงเพชร
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดมหาสารคาม คือ นางสมมุติ สัจจพงษ์ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2519)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ดาวเรือง (2 คน) ได้แก่ นายจำลอง ดาวเรือง และนายหัด ดาวเรือง
- อัตถากร (2 คน) ได้แก่ นายทองม้วน อัตถากร และนายบุญช่วย อัตถากร
- ศิริโกมุท (2 คน) ได้แก่ นายสวาท ศิริโกมุท และนางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท
- ศิริพานิชย์ (2 คน) ได้แก่ นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ และนายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์
เขตเลือกตั้ง[แก้]
การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2480 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอตลาด, อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอโคกพระ และอำเภอกมลาไสย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอหลุม, อำเภอสหัสขันธ์ และอำเภอกุฉินารายณ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรบือ, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย |
3 คน (เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคามและอำเภอวาปีปทุม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรบือ, อำเภอโกสุมพิสัย และอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอยางตลาด และอำเภอกมลาไสย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกาฬสินธุ์, อำเภอสหัสขันธ์ และอำเภอกุฉินารายณ์ |
||
พ.ศ. 2491 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 4 คน (เขตละ 4 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และ กิ่งอำเภอนาดูน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอเชียงยืน |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และ กิ่งอำเภอนาดูน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และ กิ่งอำเภอแกดำ |
||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอนาดูน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และ กิ่งอำเภอแกดำ |
||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และ กิ่งอำเภอแกดำ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอำเภอนาดูน |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอำเภอนาดูน |
||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน และ กิ่งอำเภอยางสีสุราช |
||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน, กิ่งอำเภอยางสีสุราช และ กิ่งอำเภอกุดรัง |
||
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน, อำเภอยางสีสุราช และ กิ่งอำเภอกุดรัง |
||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคามและอำเภอกันทรวิชัย (เฉพาะตำบลเขวาใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวาปีปทุม, อำเภอแกดำ และอำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน และอำเภอยางสีสุราช · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาเชือกและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโกสุมพิสัยและ กิ่งอำเภอกุดรัง · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเชียงยืน, อำเภอกันทรวิชัย (ยกเว้นตำบลเขวาใหญ่) และ กิ่งอำเภอชื่นชม |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน, อำเภอกุดรัง และอำเภอชื่นชม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวาปีปทุม, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน, อำเภอแกดำ และอำเภอยางสีสุราช |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอแกดำและอำเภอเมืองมหาสารคาม (ยกเว้นตำบลลาดพัฒนาและตำบลท่าสองคอน), อำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลบ่อใหญ่ ตำบลหนองโก ตำบลหนองม่วง และตำบลยาง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวาปีปทุมและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลบ่อใหญ่ ตำบลหนองโก ตำบลหนองม่วง และตำบลยาง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช, อำเภอนาดูน และอำเภอนาเชือก (เฉพาะตำบลหนองโพธิ์ ตำบลสันป่าตอง ตำบลหนองกุง ตำบลหนองเม็ก และตำบลนาเชือก) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกุดรัง, อำเภอโกสุมพิสัย และอำเภอนาเชือก (ยกเว้นตำบลหนองโพธิ์ ตำบลสันป่าตอง ตำบลหนองกุง ตำบลหนองเม็ก และตำบลนาเชือก) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเชียงยืน, อำเภอชื่นชม, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอเมืองมหาสารคาม (เฉพาะตำบลลาดพัฒนาและตำบลท่าสองคอน) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอแกดำ และอำเภอโกสุมพิสัย (เฉพาะตำบลแก้งแก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวาปีปทุมและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลหนองคูขาด ตำบลวังไชย ตำบลโนนราษี และตำบลโนนแดง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช, อำเภอนาดูน และอำเภอนาเชือก (ยกเว้นตำบลหนองเรือ ตำบลสำโรง ตำบลหนองเม็ก ตำบลปอพาน และตำบลหนองแดง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกุดรัง, อำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลหนองคูขาด ตำบลวังไชย ตำบลโนนราษี และตำบลโนนแดง), อำเภอนาเชือก (เฉพาะตำบลหนองเรือ ตำบลสำโรง ตำบลหนองเม็ก ตำบลปอพาน และตำบลหนองแดง) และอำเภอโกสุมพิสัย (ยกเว้นตำบลแก้งแก ตำบลเลิงใต้ ตำบลแห่ใต้ ตำบลเขื่อน และตำบลหนองบัว) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชื่นชม, อำเภอเชียงยืน, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอโกสุมพิสัย (เฉพาะตำบลเลิงใต้ ตำบลแห่ใต้ ตำบลเขื่อน และตำบลหนองบัว) |
![]() |
5 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกดำ, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช และอำเภอนาดูน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาเชือกและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกุดรัง, อำเภอโกสุมพิสัย และอำเภอกันทรวิชัย (เฉพาะตำบลเขวาใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอชื่นชม, อำเภอเชียงยืน และอำเภอกันทรวิชัย (ยกเว้นตำบลเขวาใหญ่) |
6 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]
ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3] |
พระยาสารคามคณาภิบาล (อนงค์ พยัคฆันตร์) |
นายทองม้วน อัตถากร |
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489[แก้]
เขต | ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 | ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 | ชุดที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2489 | ชุดที่ 4 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม |
1 | ขุนจรรยาวิเศษ (บุณยนิตย์ บุญเที่ยง) | นายทองม้วน อัตถากร | หลวงอังคณานุรักษ์ (สมถวิล เทพาคำ) | นายจำลอง ดาวเรือง |
2 | นายทองดี ณ กาฬสินธุ์ | นายกว้าง ทองทวี | นายนาถ เงินทาบ | |
3 | นายจำลอง ดาวเรือง | นายบุญช่วย อัตถากร | นายสิงห์โต พลวิจิตร | |
4 | – | – | – | นายเอ็ด บุญไชย |
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492[แก้]
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายฮวด ทองโรจน์ |
นายบุญช่วย อัตถากร | ||
พ.ศ. 2492 | นายนาถ เงินทาบ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495[แก้]
ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | หลวงบริหารชนบท (เสียชีวิต) |
นายบุญช่วย อัตถากร (แทนหลวงบริหารฯ) | |
2 | นายนาถ เงินทาบ |
3 | นายธรรมนูญ ภูมาศ |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]
- พรรคเศรษฐกร
- พรรคอิสระ
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
นายบุญคง บุญเพชร | นายดิลก บุญเสริม |
นายเกียรติ นาคะพงษ์ | นายเกียรติ นาคะพงษ์ |
นายเรืองยศ ทองโรจน์ | นายเกตุ วงศ์กาไสย |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512[แก้]
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายบุญช่วย อัตถากร |
2 | นายเกียรติ นาคะพงษ์ |
3 | นายอายุทธ ฝ่ายคุณวงศ์ |
4 | นายดิลก บุญเสริม |
ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526[แก้]
- พรรคกิจสังคม
- พรรคแนวร่วมสังคมนิยม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติประชาธิปไตย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 | ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 |
1 | นายอุดมพร ขอเพิ่มกลาง | นายทวนทอง อิสระวงศ์ | นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ | |
นายสวาท ศิริโกมุท | นายสำราญ วงษาจันทร์ | นายสำราญ วงษาจันทร์ (เสียชีวิต) | นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง | |
นายทวนทอง อิสระวงศ์ (แทนนายสำราญ) | ||||
นายดิลก มะลิมาศ | นางสมมุติ สัจจพงษ์ | นายหัด ดาวเรือง (เสียชีวิต) | นายทวิช กลิ่นประทุม | |
นายทวิช กลิ่นประทุม (แทนนายหัด) | ||||
2 | นายอัมพล จันทรเจริญ | นายผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์ | ||
นายยุทธพล ศรีมุงคุณ | นายกริช กงเพชร | นายปรุงศักดิ์ ไชยหาญ (เสียชีวิต) | นายกริช กงเพชร | |
นายผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์ (แทนนายปรุงศักดิ์) |
ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539[แก้]
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529) → พรรคเอกภาพ
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคมวลชน → พรรคกิจสังคม
- พรรคเอกภาพ
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคชาติไทย
เขต | ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 | ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 | ชุดที่ 17 เดือน มีนาคม 2535 | ชุดที่ 18 เดือน กันยายน 2535 | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายอัมพล จันทรเจริญ | นายสุชาติ ศรีสังข์ | นายสุชาติ ศรีสังข์ | |||
นายประวัติ ทองสมบูรณ์ | นายพยุง ช่ำชอง | นายประวัติ ทองสมบูรณ์ | นายมาโนช เชาวรัตน์ | |||
นายกริช กงเพชร | นายมาโนช เชาวรัตน์ | นายกริช กงเพชร | ||||
2 | นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร | นายอำนวย ปะติเส | นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร | |||
นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง | นายสมมาศ เฮงสวัสดิ์ | นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง | นายสมมาศ เฮงสวัสดิ์ | นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง | นางมยุรา อุรเคนทร์ | |
นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ | นายอำนวย ปะติเส | นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]
เขต | ชุดที่ 21[4] พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22[5] พ.ศ. 2548 |
1 | นายทองหล่อ พลโคตร | |
2 | นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ ![]() |
นายสุชาติ ศรีสังข์ |
นายสุชาติ ศรีสังข์ (แทนนายไชยวัฒน์) | ||
3 | นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร | นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร |
4 | นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง | |
5 | นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท | |
6 | นายกริช กงเพชร ( ![]() |
นายกริช กงเพชร |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคเพื่อไทย
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคเพื่อไทย
เขต | ชุดที่ 23[6] พ.ศ. 2550 | ||
1 | นายสุทิน คลังแสง (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายขจิตร ชัยนิคม (แทนนายสุทิน / ![]() |
นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ (แทนนายขจิตร) |
นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ | |||
นายสุรจิตร ยนต์ตระกูล | |||
2 | นายสรรพภัญญู ศิริไปล์ | ||
นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร | |||
นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562[แก้]
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายสุรจิตร ยนต์ตระกูล | นายกิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์ |
2 | นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ | นายไชยวัฒนา ติณรัตน์ |
3 | นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร | |
4 | นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ | |
5 | นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท | นายสุทิน คลังแสง |
รูปภาพ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดมหาสารคาม เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน