สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายบุญสิริ เทพาคำ[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอปาย, อำเภอปางมะผ้า, อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน และอำเภอขุนยวม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ลาน้อย, อำเภอแม่สะเรียง และอำเภอสบเมย
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอปาย, อำเภอปางมะผ้า, อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน และอำเภอขุนยวม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ลาน้อย, อำเภอแม่สะเรียง และอำเภอสบเมย
2 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายบุญสิริ เทพาคำ
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเอื้อม ทองสวัสดิ์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเสมอ กัณฑาธัญ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเสมอ กัณฑาธัญ

ชุดที่ 8–20; พ.ศ. 2500–2539[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคพลังใหม่
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายนิกร จันทรวิโรจน์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายนิกร จันทรวิโรจน์
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายก้าน รัตนสาขา
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายนรินทร์ศร รัตนไพฑูรย์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายจำลอง รุ่งเรือง
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายบุญเลิศ สว่างกุล
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายบุญเลิศ สว่างกุล
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายปัญญา จีนาคำ
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายบุญเลิศ สว่างกุล
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายปัญญา จีนาคำ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายปัญญา จีนาคำ นายปัญญา จีนาคำ
2 นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายสมบัติ ยะสินธุ์
นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทยพรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายสมบัติ ยะสินธุ์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายปัญญา จีนาคำ
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายปกรณ์ จีนาคำ นายสมบัติ ยะสินธุ์

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]