สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดระนอง มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 1 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดระนองมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนขจรเขานิเวศน์ (อิวเกี่ยน จรขันธ์)[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
มกราคม พ.ศ. 2489
สิงหาคม พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ธันวาคม พ.ศ. 2500
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
มีนาคม พ.ศ. 2535
กันยายน พ.ศ. 2535
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ขุนขจรเขานิเวศน์ (อิวเกี่ยน จรขันธ์)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายยกเสียง เหมะภูติ
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายบุลจักร (จู๋) ลิ่มศิลา
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายยกเสียง เหมะภูติ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายยกเสียง เหมะภูติ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นางระพีพรรณ พรหมวีระ

ชุดที่ 8–26; พ.ศ. 2500–2566[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคภูมิใจไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายจง พรหมวีระ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นางสุนีรัตน์ เตลาน
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายอาจิณ ลิ่มตั้ง
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายการุณ โฆษิตสกุล
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายกวีศักดิ์ เหมะภูติ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายยงยุทธ นพเกตุ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายยงยุทธ นพเกตุ
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายยงยุทธ นพเกตุ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายทองหยด จิตตวีระ
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายวิรัช ร่มเย็น
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544
ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายคงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]