สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดสมุทรสงคราม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 1 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสมุทรสงครามมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสุวรรณ มหัคฆะกาญจนะ[2]

  • นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 5 สมัย ได้แก่ นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดสมุทรสงคราม คือ นางสาวรังสิมา รอดรัศมี (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544)

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
มกราคม พ.ศ. 2489
สิงหาคม พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ธันวาคม พ.ศ. 2500
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
มีนาคม พ.ศ. 2535
กันยายน พ.ศ. 2535
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายสุวรรณ มหัคฆะกาญจนะ
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 พระราชญาติรักษา (ประกอบ บุนนาค)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 พระราชญาติรักษา (ประกอบ บุนนาค) (ขาดคุณสมบัติ)
นายเสวตร สุกระสร (แทน พระราชญาติรักษา)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายกฤษณ์ บัวสรวง
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายชอ้อน อำพล
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเทพ สุวงศ์สินธุ์

ชุดที่ 8–26; พ.ศ. 2500–2566[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปไตย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคก้าวไกล
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายเผด็จ ศิวะทัต
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายดำริ สโมสร
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายเทพ สุวงศ์สินธุ์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายสุนทร ยิ่งนคร
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายปรีชา คงศรี
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายสุนทร ยิ่งนคร
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายไพโรจน์ ไชยพร
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายวิโรจน์ ณ บางช้าง
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายอานุภาพ ลิขิตอำนวยชัย

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]