พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน นับตั้งแต่ครั้งสมัยรัชกาลที่ 4[1] ซึ่งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกในประเทศไทยก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2402 คือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร[1]
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแบ่งตามภาค[แก้]
ปัจจุบัน มีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั่วทุกภาค และกระจายในหลายจังหวัด[2] ดังนี้
ภาคกลาง[แก้]

- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร — กรุงเทพมหานคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป — กรุงเทพมหานคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี — กรุงเทพมหานคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์ — กรุงเทพมหานคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัดเบญจมบพิตร — กรุงเทพมหานคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า — จังหวัดกาญจนบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พาณิชย์นาวี — จังหวัดจันทบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุนี — จังหวัดชัยนาท
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครนายก พระบรมชนกชลพัฒน์ — จังหวัดนครนายก
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ — จังหวัดนครปฐม
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก — จังหวัดปทุมธานี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปราจีนบุรี — จังหวัดปราจีนบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม — จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา — จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี — จังหวัดเพชรบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี — จังหวัดราชบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ — จังหวัดลพบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระพุทธบาท — จังหวัดสระบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อินทร์บุรี — จังหวัดสิงห์บุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชาวนาไทย — จังหวัดสุพรรณบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี — จังหวัดสุพรรณบุรี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง — จังหวัดสุพรรณบุรี
ภาคเหนือ[แก้]

- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร — จังหวัดกำแพงเพชร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน — จังหวัดเชียงราย
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ — จังหวัดเชียงใหม่
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน — จังหวัดน่าน
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระพุทธชินราช — จังหวัดพิษณุโลก
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย — จังหวัดลำพูน
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง — จังหวัดสุโขทัย
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สวรรควรนายก — จังหวัดสุโขทัย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น — จังหวัดขอนแก่น
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย — จังหวัดนครราชสีมา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ — จังหวัดนครราชสีมา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครจัมปาศรี — จังหวัดมหาสารคาม
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด — จังหวัดร้อยเอ็ด
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ — จังหวัดสุรินทร์
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง — จังหวัดอุดรธานี
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี — จังหวัดอุบลราชธานี
ภาคใต้[แก้]

- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร — จังหวัดชุมพร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช — จังหวัดนครศรีธรรมราช
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง — จังหวัดภูเก็ต
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มัชฌิมาวาส — จังหวัดสงขลา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา — จังหวัดสงขลา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สตูล — จังหวัดสตูล
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา — จังหวัดสุราษฎร์ธานี
อดีตพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ[แก้]
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ช้างต้น — กรุงเทพมหานคร (ปิดให้บริการถาวร)[3]
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "ประวัติความเป็นมา || About us". www.virtualmuseum.finearts.go.th.
- ↑ "พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ | กรมศิลปากร". www.finearts.go.th.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ช้างต้น | ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย". db.sac.or.th.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)