มณฑลนครราชสีมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มณฑลนครราชสีมา
มณฑลเทศาภิบาล
พ.ศ. 2436 – 2476
Flag of มณฑลนครราชสีมา
ธง

แผนที่มณฑลนครราชสีมา
เมืองหลวงนครราชสีมา
การปกครอง
 • ประเภทสมุหเทศาภิบาลต่างพระเนตรพระกรรณ
สมุหเทศาภิบาล 
• พ.ศ. 2435–2436
พระยาพิเรนทรเทพ (ทองคำ สีหอุไร) (คนแรก)
• พ.ศ. 2436
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสรรพสิทธิประสงค์
• พ.ศ. 2436–2444
พระยาสิงห์เสนี (สอาด สิงหเสนี)
• พ.ศ. 2450–2456
พระยาจ่าแสนบดีศรีบริบาล (อวบ เปาโรหิตย์)
• พ.ศ. 2468–2476
พระยาเพชรลดา (สอาด ณ ป้อมเพชร) (คนสุดท้าย)
ยุคทางประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์
• จัดตั้ง
พ.ศ. 2436
• แยกพื้นที่จัดตั้งมณฑลเพชรบูรณ์
20 มกราคม พ.ศ. 2443
• รวมมณฑลร้อยเอ็ดและมณฑลอุบลเข้าไว้ในการปกครอง
31 มีนาคม พ.ศ. 2469
• ยกเลิกการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล
9 ธันวาคม พ.ศ. 2476
ก่อนหน้า
ถัดไป
เมืองนครราชสีมา
เมืองชัยภูมิ
เมืองบุรีรัมย์
เมืองชลบถวิบูลย์
เมืองเพชรบูรณ์
เมืองหล่มสัก
มณฑลร้อยเอ็ด
มณฑลอุบล
มณฑลเพชรบูรณ์
จังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดชัยภูมิ
จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดขุขันธ์
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดมหาสารคาม
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ไทย

มณฑลนครราชสีมา หรือ มณฑลลาวกลาง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2436 เป็นมณฑลแรกของประเทศสยาม ในช่วงแรกมีเมืองเพชรบูรณ์และเมืองหล่มสักรวมอยู่ด้วย แต่ได้แยกออกไปเป็นอีกมณฑลหนึ่งในปี พ.ศ. 2442

มณฑลนครราชสีมา[แก้]

ประกอบด้วย 3 เมือง (จังหวัด) 16 อำเภอ ได้แก่

  1. อำเภอเมืองพิมาย (อำเภอพิมาย)
  2. อำเภอนอก (อำเภอบัวใหญ่)
  3. อำเภอกลาง (อำเภอโนนสูง)
  4. อำเภอจันทึก (อำเภอสีคิ้ว)
  5. อำเภอสันเทียะ (อำเภอโนนไทย)
  6. อำเภอสองโนน (อำเภอสูงเนิน)
  7. อำเภอกระโทก (อำเภอโชคชัย)
  8. อำเภอปักธงไชย (อำเภอปักธงชัย)
  9. อำเภอพันชนะ (อำเภอด่านขุนทด)
  1. เมืองชัยภูมิ
  2. เมืองสี่มุม (อำเภอจัตุรัส)
  3. เมืองเกษตรสมบูรณ์ (อำเภอภูเขียว)
  4. เมืองโนนลาว (อำเภอโนนไทย)
  1. อำเภอนางรอง
  2. อำเภอพุทไธสง
  3. อำเภอรัตนบุรี (ปัจจุบันขึ้นกับจังหวัดสุรินทร์)
  4. อำเภอตะลุง (อำเภอประโคนชัย)

อ้างอิง[แก้]