ข้ามไปเนื้อหา

สโมสรฟุตบอลนครราชสีมา มาสด้า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นครราชสีมา มาสด้า เอฟซี
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลนครราชสีมา มาสด้า เอฟซี
ฉายาเจ้าแมวพิฆาต สวาทแคท
ก่อตั้ง20 มีนาคม พ.ศ. 2542
สนามสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ความจุ25,000 ที่นั่ง
เจ้าของบริษัท โคราช ยูไนเต็ด จำกัด
ประธานวัชรพล โตมรศักดิ์
ผู้จัดการเมธี ทวีกุลกาญจน์
ผู้ฝึกสอนธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น
ลีกไทยลีก
2566–67ไทยลีก 2, ชนะเลิศ
(เลื่อนชั้น) เพิ่มขึ้น
สีชุดทีมเยือน
สีชุดที่สาม
ฤดูกาลปัจจุบัน
ทีมกีฬาของจังหวัดนครราชสีมา
ฟุตบอล
(สวาทแคท)
วอลเลย์บอล (ชาย) ฟุตซอล
ฟุตบอล
(หัวจักรพิฆาต)
วอลเลย์บอล (หญิง)

สโมสรฟุตบอลนครราชสีมา มาสด้า เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นทีมจากจังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันเล่นอยู่ในไทยลีก ใช้สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ที่มีความจุ 25,000 คน เป็นสนามเหย้า

ประวัติสโมสร

[แก้]
แฟนบอลสโมสรฟุตบอลนครราชสีมา มาสด้า

ฉายาและสัญลักษณ์

[แก้]

สมัยทีมฟุตบอลโคราชแข่งโปรลีกฯ จะมีฉายาว่า "สตริงเรย์" เพราะสมัยนั้นทางกองบิน 1 มีรถถังคอมมานโดสติงเรย์ หรือเรียกอีกชื่อในวงการทหารว่า "เจ้ากระเบนธงจู่โจม" จำนวนมาก โดยกองทัพบกนำเข้าประจำการมา 106 คัน และในการส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลสมัยนั้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นทหารอยู่ในกองทัพ จึงได้เลือกใช้ชื่อว่า "นครราชสีมา สตริงเรย์" ต่อมาได้เปลี่ยนโลโก้และฉายาใหม่ว่า "สวาทแคท" หรือ "เจ้าแมวพิฆาต" ซึ่งแต่เดิมนั้นโลโก้ของสโมสรจะเป็นรูปรถถัง โดยได้เปลี่ยนเป็นรูปแมวสีสวาด ซึ่งเป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นโคราชมาจนถึงปัจจุบัน

ผู้เล่น

[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK ไทย พัชรพงษ์ ประทุมมา
4 MF ไทย สมเกียรติ คุณมี
5 DF ไทย วัชรินทร์ เนื่องพระแก้ว
6 DF เกาหลีใต้ อี จอง-ชอน
7 FW ฝรั่งเศส แกรก อูลา
8 MF ไทย วีรวัฒน์ จิรภักสิริ
10 FW บราซิล เดย์วีซง เฟร์นังจิส
11 FW ไทย สยาม แยปป์ (ยืมตัวจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
15 DF ไทย วรภพ ทวีสุข
16 DF ไทย อันโตนิโอ แสนใจรักษ์
17 FW ไทย พีรพัฒน์ คำแพง
19 FW ไทย ศุภวิชญ์ ร่มโพธิ์ภักดิ์
21 MF ไทย ณัฐวุธ เจริญบุตร
22 MF ไทย อนุรักษ์ มุ่งดี
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
23 FW บราซิล เดนนิส มูริลลู
24 DF ไทย ประสิทธิชัย เพิ่ม
25 GK ไทย ณรงค์ศักดิ์ เนื่องวงษา
29 MF ออสเตรเลีย นิค แอนเซล
30 MF ไทย ณัฐนันท์ เบี้ยสัมฤทธิ์
31 FW ไทย พิณณวัฒน์ ผลสว่าง
33 FW ไทย ธนิน ปลอดแก้ว
35 GK ไทย สรวิศ สีฟ้า
36 GK ไทย ธณชัย หนูราช
37 DF ไทย ณัฐพงษ์ สายริยา (กัปตันทีม)
44 MF ไทย พีระภัทร ผลสว่าง
47 DF ไทย ณรงค์ศักดิ์ เพชรนอก
48 FW ไทย รัฐศาสตร์ บังสูงเนิน
92 DF ไทย ธนิศร ไพบูลย์กิจเจริญ (ยืมตัวจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)

ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว

[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น

บุคลากร

[แก้]

รายชื่อหัวหน้าผู้ฝึกสอน

[แก้]

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ

[แก้]
ไทย ไทย

ผลงานตามฤดูกาลแข่งขัน

[แก้]
ฤดูกาล ลีก[1] เอฟเอคัพ ลีกคัพ แชมเปียนส์คัพ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ผู้ทำประตูสูงสุด
ระดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย คะแนน อันดับ ชื่อ จำนวนประตู
2542/43 โปรวินเชียลลีก 22 5 7 10 30 37 22 อันดับที่ 10
2543/44 โปรวินเชียลลีก 22 5 4 13 34 44 19 อันดับที่ 11 ไม่มีการแข่งขัน
2545 โปรวินเชียลลีก 10 2 5 3 8 12 11 อันดับที่ 4 (สาย A) ไม่มีการแข่งขัน
2546 โปรวินเชียลลีก 22 8 8 6 32 24 32 อันดับที่ 6 ไม่มีการแข่งขัน
2547 โปรวินเชียลลีก 18 5 6 7 27 32 21 อันดับที่ 7 ไม่มีการแข่งขัน
2548 โปรวินเชียลลีก 22 10 7 8 41 40 37 อันดับที่ 5 ไม่มีการแข่งขัน
2549 โปรวินเชียลลีก 30 8 12 10 37 43 36 อันดับที่ 10 ไม่มีการแข่งขัน
ควบรวม โปรวินเชียลลีก รวมเข้ากับ ไทยลีก ได้สิทธิ์เข้าแข่งขันใน ไทยลีกดิวิชั่น 1 2550[2]
2550 ดิวิชัน 1 22 7 7 8 27 25 28 อันดับที่ 9 (กลุ่ม B) ไม่มีการแข่งขัน
2551 ดิวิชัน 2 20 9 4 7 36 19 31 อันดับที่ 4 ไม่มีการแข่งขัน
2552 ดิวิชัน 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 12 7 1 50 21 43 อันดับที่ 2 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2553 ดิวิชัน 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 30 14 9 7 51 37 51 อันดับที่ 4 รอบแรก รอบแรก
2554 ดิวิชัน 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 30 18 8 4* 62 25 60* อันดับที่ 3 รอบแรก รอบแรก
รอบแชมเปียนส์ลีก 10 7 1 2 13 5 22 อันดับที่ 1 กลุ่ม บี
รอบชิงชนะเลิศ 1 0 0 1 1 2 - รองชนะเลิศ
2555 ดิวิชัน 1 34 12 10 12 31 43 47 อันดับที่ 8 รอบสี่ รอบสอง พร้อมพงษ์ 16
2556 ดิวิชัน 1 34 15 9 10 49 35 54 อันดับที่ 5 รอบสาม (32 ทีมสุดท้าย) รอบรองชนะเลิศ คาโต้ 14
2557 ดิวิชัน 1 34 19 11 4 56 27 68 อันดับที่ 1 รอบห้า (16 ทีมสุดท้าย) รอบรองชนะเลิศ บอสโกวิช 18
2558 ไทยพรีเมียร์ลีก 34 13 10 11 37 43 49 อันดับที่ 8 รอบสาม (32 ทีมสุดท้าย) รอบสาม ลินเดอมันน์ 7
2559 ไทยลีก 31 10 5 16 30 44 35 อันดับที่ 11 รอบสี่ (16 ทีมสุดท้าย) รอบสอง ทักบาจูมี่ 9
2560 ไทยลีก 34 10 11 13 42 48 41 อันดับที่ 12 รอบสอง (32 ทีมสุดท้าย) รอบแรก รังเฌล 14
2561 ไทยลีก 34 13 8 13 36 44 47 อันดับที่ 7 รอบ 64 ทีมสุดท้าย รอบรองชนะเลิศ อัสซัมเซา 7
2562 ไทยลีก 30 9 7 14 45 57 34 อันดับที่ 13 รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบ 32 ทีมสุดท้าย อัสซัมเซา 15
2563–64 ไทยลีก 30 11 9 10 40 41 42 อันดับที่ 9 รอบ 64 ทีมสุดท้าย ยกเลิกการแข่งขัน มูริลลู 21
2564–65 ไทยลีก 30 10 7 13 33 47 37 อันดับที่ 9 รองชนะเลิศ รอบ 32 ทีมสุดท้าย คารีคารี 13
2565–66 ไทยลีก 30 7 8 15 31 53 29 อันดับที่ 14 รอบก่อนรองชนะเลิศ ไม่ส่งเข้าแข่งขัน ไทรอน เดอ ปิโน 7
2566–67 ไทยลีก 2 34 21 10 3 64 27 73 อันดับที่ 1 รอบ 64 ทีมสุดท้าย รอบเพลย์ออฟ เดย์วิซง เฟร์นังจิส 23
2567–68 ไทยลีก
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม เลื่อนชั้น ตกชั้น

เกียรติประวัติ

[แก้]

ผลงานที่ดีที่สุด

[แก้]

การแข่งขันกระชับมิตร

[แก้]
  • 2559 ช้าง ชลบุรี อินวิเตชั่น 2016 (รองแชมป์)
  • 2560 อีสาน ดาร์บี้ คัพ 2017 (แชมป์)
  • 2561 ลีโอ คัพ (รองแชมป์)
  • 2562 ลีโอ คัพ (อันดับ 4)

สถิติผู้ชม

[แก้]
ลีก รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
ไทยพรีเมียร์ลีก 2558 287,307 34,659 8,142 17,677
+12.4%
ไทยลีก 2559 173,041 32,159 5,543 11,536
−34.7%
ไทยลีก 2560 95,421 12,250 1,583 5,613
−51.3%
ไทยลีก ฤดูกาล 2561 97,911 17,319 2,559 8,159
+45.4%
ไทยลีก ฤดูกาล 2562 185,813 22,555 3,615 12,388
+69.2%
ไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 41,348 12,296 0 2,757
-77.7%
ไทยลีก ฤดูกาล 2564–65 33,066 5,500 0 2,362
−48.6%
ไทยลีก ฤดูกาล 2565–66 60,191 9,561 2,387 4,013
+69.9%
ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2566–67 96,255 24,556 2,556 5,662
+41.1%
ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68

ชุดแข่งขัน

[แก้]
ฤดูกาล แบรนด์เสื้อ สปอนเซอร์
2550–55 ไทย เอฟบีที ชมรมเพื่อนสุวัจน์
2556 เยอรมนี พูมา ชมรมเพื่อนสุวัจน์, มาสด้า
2557 ไทย วอริกซ์ มาสด้า
2558-59 ไทย แกรนด์สปอร์ต
2560 ผลิตจากสโมสร
2561 ไทย วอริกซ์
2562 ไทย เวอร์ซุส
2563-64 ไทย แกรนด์สปอร์ต
2564-65 สเปน เกลเม
2565-66 ไทย อินฟินิต
2566-68 ไทย โวลต์

อ้างอิง

[แก้]
  1. King, Ian; Schöggl, Hans & Stokkermans, Karel (20 March 2014). "Thailand – List of Champions". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 29 October 2014. Select link to season required from chronological list.
  2. http://topicstock.pantip.com/supachalasai/topicstock/2011/01/S10178784/S10178784.html ย้อนอดีต โปรวินเชียล ลีก ทีม "นครราชสีมา" - Pantip.com

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]