รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก รายนามนายกรัฐมนตรีของไทย)
การแก้ไขบทความนี้ของผู้ใช้ใหม่หรือผู้ใช้ไม่ลงทะเบียนถูกปิดใช้งาน ดูนโยบายการป้องกันและปูมการป้องกันสำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม หากคุณไม่สามารถแก้ไขบทความนี้และคุณประสงค์เปลี่ยนแปลง คุณสามารถส่งคำขอแก้ไข อภิปรายการเปลี่ยนแปลงทางหน้าคุย ขอเลิกป้องกัน ล็อกอิน หรือสร้างบัญชี |
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความว่าด้วย |
การเมืองไทย |
---|
สถานีย่อยประเทศไทย |
รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทยเรียงตามลำดับเวลา ปัจจุบันประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีแล้วทั้งสิ้น 31 คน
รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย
- ประธานคณะกรรมการราษฎร
- นายกรัฐมนตรีจากผลของรัฐประหาร
- ผู้รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี
- คณะรัฐประหาร
ลำดับ (สมัย) |
รูป | ชื่อ เขตเลือกตั้ง |
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ |
การดำรงตำแหน่ง | พรรคการเมือง | รัชสมัย | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | |||||||
1 (1-3) |
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
(ก้อน หุตะสิงห์) |
1 | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว) |
10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม) |
0 ปี 358 วัน | อิสระ | พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว | ||
2 | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 (มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว) |
1 เมษายน พ.ศ. 2476 (รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา) | |||||||
3 | 1 เมษายน พ.ศ. 2476 (พระราชกฤษฎีกา) |
21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 (รัฐประหารและลาออก) | |||||||
2 (1-5) |
พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 1 ประเภทที่ 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 2 ประเภทที่ 2 |
4 | 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 (มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว) |
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 (ลาออกและเลือกตั้งทั่วไป) |
5 ปี 178 วัน | คณะราษฎร | |||
5 | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1) |
22 กันยายน พ.ศ. 2477 (ลาออกเนื่องจากสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล) | |||||||
6 | 22 กันยายน พ.ศ. 2477 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1) |
9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 (ลาออกเนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่) | |||||||
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร | |||||||||
7 | 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1) |
21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 (สภาครบวาระและจัดเลือกตั้งทั่วไป) | |||||||
8 | 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2) |
16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)[a] | |||||||
3 (1-2) |
พลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) (ถึงกรกฎาคม 2484) จอมพล ป. พิบูลสงคราม (ตั้งแต่กรกฎาคม 2484) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3 ประเภทที่ 2 |
9 | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3) |
7 มีนาคม พ.ศ. 2485 (ลาออกเนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม) |
5 ปี 229 วัน | ||||
10 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3) |
1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 (ลาออกเนื่องจาก ส.ส. ไม่อนุมัติร่าง พ.ร.บ. และ พ.ร.ก.) | |||||||
4 (1) |
พันตรี ควง อภัยวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3 ประเภทที่ 2 |
11 | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3) |
31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ลาออกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง) |
1 ปี 30 วัน | ||||
5 | ทวี บุณยเกตุ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3 ประเภทที่ 2 |
12 | 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3) |
17 กันยายน พ.ศ. 2488 (ลาออกเนื่องจากให้ผู้ที่เหมาะสมมาแทน) |
0 ปี 17 วัน | ||||
6 (1) |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 13 | 17 กันยายน พ.ศ. 2488 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3) |
31 มกราคม พ.ศ. 2489 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป) |
0 ปี 136 วัน | ขบวนการเสรีไทย | |||
4 (2) |
พันตรี ควง อภัยวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4 ประเภทที่ 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4 จ.พระนคร เขต 2 |
14 | 31 มกราคม พ.ศ. 2489 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4) |
24 มีนาคม พ.ศ. 2489 (ลาออกเนื่องจากแพ้มติสภาที่เสนอ พ.ร.บ. ที่รัฐบาลรับไม่ได้) |
0 ปี 52 วัน | คณะราษฎร | |||
7 (1-3) |
ปรีดี พนมยงค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4 ประเภทที่ 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4 จ.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 |
15 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4) |
7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 (ลาออกเนื่องจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489) |
0 ปี 152 วัน | ||||
- | 7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4) |
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 (ลาออกเนื่องจากการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล) | |||||||
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร | |||||||||
16 | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4) |
23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 (ลาออก) | |||||||
8 (1-2) |
พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4 ประเภทที่ 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4 จ.พระนครศรีอยุธยา เขต 1 |
17 | 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4) |
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 (ลาออกเนื่องจากมีกระแสกดดันที่รุนแรง) |
1 ปี 79 วัน | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | |||
18 | 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4) |
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 (รัฐประหาร) | |||||||
คณะทหารแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: จอมพล ผิน ชุณหะวัณ) |
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | 0 ปี 1 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
4 (3-4) |
พันตรี ควง อภัยวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 5 พระนคร เขต 1 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 5 ประเภทที่ 2 |
19 | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 (มติคณะทหารแห่งชาติ) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 (ลาออกเพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
0 ปี 150 วัน | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
20 | 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 (เสนอชื่อโดยประธานคณะอภิรัฐมนตรี) |
8 เมษายน พ.ศ. 2491 (ลาออกเนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง) | |||||||
3 (3-8) |
จอมพล ป. พิบูลสงคราม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 6,7 ประเภทที่ 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 8 จ.พระนคร |
21 | 8 เมษายน พ.ศ. 2491 (เสนอชื่อโดยประธานคณะอภิรัฐมนตรี) |
25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และมีการเลือกตั้งทั่วไป) |
9 ปี 161 วัน | พรรคธรรมาธิปัตย์ | |||
22 | 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 (เสนอชื่อโดยประธานรัฐสภา) |
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 (นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง) | |||||||
23 | 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 (มติคณะบริหารประเทศชั่วคราว) |
6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 (มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่) |
คณะบริหารประเทศชั่วคราว | ||||||
24 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6) |
23 มีนาคม พ.ศ. 2495 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 และมีการเลือกตั้งทั่วไป) |
พรรคธรรมาธิปัตย์ | ||||||
25 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7) |
21 มีนาคม พ.ศ. 2500 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป) | |||||||
26 | 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8) |
16 กันยายน พ.ศ. 2500 (รัฐประหาร) |
พรรคเสรีมนังคศิลา | ||||||
คณะปฏิวัติ (หัวหน้าคณะ: จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์) |
16 กันยายน พ.ศ. 2500 | 21 กันยายน พ.ศ. 2500 | 0 ปี 5 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
9 | พจน์ สารสิน | 27 | 21 กันยายน พ.ศ. 2500 (ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร) |
1 มกราคม พ.ศ. 2501 (ลาออกและจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
0 ปี 102 วัน | อิสระ | |||
10 (1) |
จอมพล ถนอม กิตติขจร | 28 | 1 มกราคม พ.ศ. 2501 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9) |
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 (ลาออกและรัฐประหาร) |
0 ปี 292 วัน | พรรคชาติสังคม | |||
คณะปฏิวัติ (หัวหน้าคณะ: จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์) |
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | 0 ปี 112 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
11 | จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ | 29 | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 (มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ) |
8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (ถึงแก่อสัญกรรม) |
4 ปี 302 วัน | คณะปฏิวัติ | |||
10 (2-3) |
จอมพล ถนอม กิตติขจร | 30 | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ) |
7 มีนาคม พ.ศ. 2512 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
7 ปี 343 วัน | ||||
31 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10) |
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 (รัฐประหาร) |
พรรคสหประชาไทย | ||||||
คณะปฏิวัติ (หัวหน้าคณะ: จอมพล ถนอม กิตติขจร) |
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 | 1 ปี 31 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
10 (4) |
จอมพล ถนอม กิตติขจร | 32 | 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 (มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 (ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา) |
0 ปี 300 วัน | คณะปฏิวัติ | |||
12
(1-2) |
สัญญา ธรรมศักดิ์ | 33 | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 (ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 (ลาออก) |
1 ปี 124 วัน | อิสระ | |||
34 | 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 (มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) | |||||||
6 (2) |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 11 กรุงเทพฯ เขต 6 |
35 | 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11) |
14 มีนาคม พ.ศ. 2518 (ลาออกเนื่องจากไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบาย) |
0 ปี 27 วัน | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
13 | พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 11 กรุงเทพฯ เขต 1 |
36 | 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11) |
20 เมษายน พ.ศ. 2519 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[b] |
1 ปี 37 วัน | พรรคกิจสังคม | |||
6 (3-4) |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 12 กรุงเทพฯ เขต 5 |
37 | 20 เมษายน พ.ศ. 2519 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12) |
25 กันยายน พ.ศ. 2519 (ลาออกเนื่องจากปัญหาความไม่สงบ) |
0 ปี 169 วัน | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
38 | 25 กันยายน พ.ศ. 2519 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12) |
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 (รัฐประหาร เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลา) | |||||||
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน (หัวหน้าคณะ: พลเรือเอก สงัด ชลออยู่) |
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | 0 ปี 2 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
14 | ธานินทร์ กรัยวิเชียร | 39 | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 (มติคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน) |
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 (รัฐประหาร) |
1 ปี 12 วัน | อิสระ | |||
คณะปฏิวัติ (หัวหน้าคณะ: พลเรือเอก สงัด ชลออยู่) |
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 | 0 ปี 22 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
15 (1-2) |
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 13 จ.ร้อยเอ็ด เขต 1 |
40 | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 (มติคณะปฏิวัติ) |
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
2 ปี 113 วัน | กองทัพ | |||
41 | 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13) |
3 มีนาคม พ.ศ. 2523 (ลาออกเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย) |
อิสระ | ||||||
16 (1-3) |
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | 42 | 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13) |
30 เมษายน พ.ศ. 2526 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[c] |
8 ปี 154 วัน | กองทัพ | |||
43 | 30 เมษายน พ.ศ. 2526 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14) |
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[d] |
อิสระ | ||||||
44 | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15) |
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[e] | |||||||
17 (1-2) |
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 16 จ.นครราชสีมา เขต 1 |
45 | 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16) |
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 (ลาออก) |
2 ปี 203 วัน | พรรคชาติไทย | |||
46 | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16) |
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 (รัฐประหาร) | |||||||
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ:พลเอก สุนทร คงสมพงษ์) |
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 | 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 | 0 ปี 7 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
18 (1) |
อานันท์ ปันยารชุน | 47 | 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 (มติคณะ รสช.) |
7 เมษายน พ.ศ. 2535 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
1 ปี 36 วัน | อิสระ | |||
19 | พลเอก สุจินดา คราประยูร | 48 | 7 เมษายน พ.ศ. 2535 (ทูลเกล้าฯ เสนอชื่อโดยสุนทร คงสมพงษ์ ประธานสภา รสช.[1][2] และมติพรรคร่วมรัฐบาล[3]) |
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ) |
0 ปี 47 วัน | ||||
- | มีชัย ฤชุพันธุ์ | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง) |
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 17 วัน (ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี) | |||||
18 (2) |
อานันท์ ปันยารชุน | 49 | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (ทูลเกล้าฯ เสนอชื่อโดยอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร) |
23 กันยายน พ.ศ. 2535 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[f] |
0 ปี 105 วัน | ||||
20 (1) |
ชวน หลีกภัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 จ.ตรัง เขต 1 |
50 | 23 กันยายน พ.ศ. 2535 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18) |
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[g] |
2 ปี 293 วัน | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
21 | บรรหาร ศิลปอาชา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 19 จ.สุพรรณบุรี เขต 1 |
51 | 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19) |
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[h] |
1 ปี 135 วัน | พรรคชาติไทย | |||
22 | พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20 จ.นครพนม เขต 1 |
52 | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 |
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 (ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ) |
0 ปี 349 วัน | พรรคความหวังใหม่ | |||
20 (2) |
ชวน หลีกภัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20 จ.ตรัง เขต 1 |
53 | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20) |
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[i] |
3 ปี 92 วัน | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
23 (1-2) |
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 แบบบัญชีรายชื่อ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 22 แบบบัญชีรายชื่อ |
54 | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21) |
11 มีนาคม พ.ศ. 2548 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
5 ปี 222 วัน | พรรคไทยรักไทย | |||
55 | 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22) |
19 กันยายน พ.ศ. 2549 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร จัดการเลือกตั้งทั่วไป และเกิดรัฐประหาร)[j] | |||||||
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (หัวหน้าคณะ: พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน) |
19 กันยายน พ.ศ. 2549 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 | 0 ปี 12 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
24 | พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ | 56 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 (มติคณะ คปค.) |
29 มกราคม พ.ศ. 2551 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
1 ปี 120 วัน | อิสระ | |||
25 | สมัคร สุนทรเวช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23 แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6 |
57 | 29 มกราคม พ.ศ. 2551 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23) |
9 กันยายน พ.ศ. 2551 (ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง)[k] |
0 ปี 224 วัน | พรรคพลังประชาชน | |||
26 | สมชาย วงศ์สวัสดิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23 แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1 |
9 กันยายน พ.ศ. 2551 (นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) |
18 กันยายน พ.ศ. 2551 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 9 วัน (ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี) | |||||
58 | 18 กันยายน พ.ศ. 2551 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23) |
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)[l] |
0 ปี 75 วัน | ||||||
- | ชวรัตน์ ชาญวีรกูล | 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) |
17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 14 วัน (ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี) |
อิสระ | ||||
27 | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23 แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6 |
59 | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23) |
5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[m] |
2 ปี 231 วัน | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
28 | ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24 แบบบัญชีรายชื่อ |
60 | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24) |
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งขณะรักษาการ[n] หลังจากยุบสภาผู้แทนราษฎร[o] และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
2 ปี 275 วัน | พรรคเพื่อไทย | |||
- | นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24 แบบบัญชีรายชื่อ |
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) |
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (รัฐประหาร) |
0 ปี 15 วัน (ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี) | |||||
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) |
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 | 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557 | 0 ปี 94 วัน (ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี) | ||||||
29 (1-2) |
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | 61 | 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557 (มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
9 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[p] |
8 ปี 0 วัน | คณะรักษาความสงบแห่งชาติ | |||
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว | |||||||||
62 | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (มติของรัฐสภาไทย ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12) |
24 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่ระหว่างรอคำวินิจฉัย)[q] |
อิสระ[r] | ||||||
- | พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ | 24 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้นายกรัฐมนตรีหยุดปฏิบัติหน้าที่ระหว่างรอคำวินิจฉัย) |
30 กันยายน พ.ศ. 2565 (นายกรัฐมนตรีกลับมาปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ) |
0 ปี 37 วัน (ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)[4] |
พรรคพลังประชารัฐ | ||||
29 (2) |
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | 30 กันยายน พ.ศ. 2565 (ศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้กลับมาปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ) |
22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[s] |
0 ปี 326 วัน (รวมทั้งหมด 8 ปี 326 วัน) |
อิสระ[t] | ||||
30 | เศรษฐา ทวีสิน | 63 | 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 (มติของรัฐสภาไทย ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26 และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12) |
14 สิงหาคม พ.ศ. 2567 (ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง)[u] |
0 ปี 358 วัน | พรรคเพื่อไทย | |||
- | ภูมิธรรม เวชยชัย | 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567 (นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) |
16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 3 วัน (ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี) | |||||
31 | แพทองธาร ชินวัตร | 64 | 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 (มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26) |
ปัจจุบัน | 0 ปี 127 วัน |
เชิงอรรถ
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2526
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2531
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 182 (7) ประกอบมาตรา 267 จากกรณีเป็นผู้ดำเนินรายการ "ชิมไปบ่นไป" และ "ยกโขยง 6 โมงเช้า"
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้ยุบพรรคพลังประชาชน, พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย รวมทั้งตัดสิทธิ์ทางการเมืองของคณะกรรมการบริหารพรรคที่ถูกยุบคนละ 5 ปี
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 182 (7) ประกอบมาตรา 268 และมาตรา 266 (2) และ (3) จากกรณีโยกย้ายถวิล เปลี่ยนศรี จากตำแหน่งเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประกาศใช้เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2562
- ↑ พักการปฏิบัติหน้าที่ระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม – 30 กันยายน พ.ศ. 2565 ระหว่างศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นวาระการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
- ↑ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ได้เป็นสมาชิกของพรรคพลังประชารัฐ แต่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคให้เป็นผู้ชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2566
- ↑ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2566 เขาได้สมัครเป็นสมาชิกพรรครวมไทยสร้างชาติ และเป็นสมาชิกของพรรคจนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 (4) ประกอบมาตรา 160 (4) จากกรณีแต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดูเพิ่ม
- นายกรัฐมนตรีไทย
- รายชื่อประธานรัฐสภาไทย
- รายชื่อประธานศาลฎีกาไทย
- รายชื่อคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย
- รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- ประวัตินายกรัฐมนตรีไทย เก็บถาวร 2018-06-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
- แผนผังการเมืองไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน จากเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลนักการเมือง - ThaisWatch.com