การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย
![]() | บทความนี้อาจมีงานค้นคว้าต้นฉบับรวมอยู่ |
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
รายการ[แก้]
มิถุนายน 2475[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมิถุนายน ปี 2475 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้น และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา |
---|
อิสระ |
ผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2475) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา | ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎร |
ธันวาคม 2475[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนธันวาคม ปี 2475 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา |
---|
อิสระ |
ประธานคณะกรรมการราษฎร (ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2475) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475[1]
มิถุนายน 2476[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมิถุนายน ปี 2476 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ถูกยึดอำนาจ
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยาพหลพลพยุหเสนา |
---|
ราษฎร |
รัฐมนตรี (10 ธันวาคม 2475 – 18 มิถุนายน 2476) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยาพหลพลพยุหเสนา | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 [2]
ธันวาคม 2476[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนธันวาคม ปี 2476 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา ประกาศให้เลือกตั้งทั่วไป
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยาพหลพลพยุหเสนา |
---|
ราษฎร |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยาพหลพลพยุหเสนา | ได้รับความไว้วางใจเป็นเอกฉันท์ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476[3]
พ.ศ. 2477[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2477 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 นายพระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยาพหลพลพยุหเสนา |
---|
ราษฎร |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยาพหลพลพยุหเสนา | ได้รับความไว้วางใจเป็นเอกฉันท์ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477[4]
สิงหาคม 2480[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนสิงหาคม ปี 2480 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก เนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่ไม่โปร่งใส
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยาพหลพลพยุหเสนา |
---|
ราษฎร |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยาพหลพลพยุหเสนา | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480[5]
ธันวาคม 2480[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนธันวาคม ปี 2480 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากสภาครบวาระแล้ว
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
พระยาพหลพลพยุหเสนา |
---|
ราษฎร |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
พระยาพหลพลพยุหเสนา | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480[6]
พ.ศ. 2481[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2481 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
หลวงพิบูลสงคราม |
---|
ราษฎร |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (ตั้งแต่ 22 กันยายน 2477) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
แปลก พิบูลสงคราม | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481[7]
พ.ศ. 2485[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2485 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก เนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ (สงครามโลกครั้งที่ 2)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
แปลก พิบูลสงคราม |
---|
ราษฎร |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2481) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
แปลก พิบูลสงคราม | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2485[8]
พ.ศ. 2487[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2487 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | |
พจน์ พหลโยธิน | แปลก พิบูลสงคราม |
---|---|
ราษฎร | |
นายกรัฐมนตรี (21 มิถุนายน 2476 – 16 ธันวาคม 2481) |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2481) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
พระยาพหลพลพยุหเสนา | 81 |
แปลก พิบูลสงคราม | 19 |
พระยาพหลพลพยุหเสนา ปฏิเสธตำแหน่ง จึงมีการลงมติใหม่อีกครั้ง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | ||
ควง อภัยวงศ์ | แปลก พิบูลสงคราม | สินธุ์ กมลนาวิน |
---|---|---|
ราษฎร | ||
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (8 กันยายน 2485 – 17 กุมภาพันธ์ 2486) |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2481) |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ (ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2485) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
ควง อภัยวงศ์ | 69 |
แปลก พิบูลสงคราม | 22 |
สินธุ์ กมลนาวิน | 8 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487[9]
พ.ศ. 2488[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2488 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก และได้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2488[10]
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
ทวี บุณยเกตุ |
---|
ราษฎร |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2487) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ทวี บุณยเกตุ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทวี บุณยเกตุเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488[11]
กันยายน[แก้]
เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2488 ได้มีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2488 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ทวี บุณยเกตุ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก[12]
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
---|
เสรีไทย |
เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา (18 มิถุนายน 2483 – 2485) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | ได้รับความไว้วางใจ |
มกราคม 2489[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมกราคม ปี 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | |
ควง อภัยวงศ์ | ดิเรก ชัยนาม |
---|---|
ราษฎร | |
นายกรัฐมนตรี (1 สิงหาคม 2487 – 31 สิงหาคม 2488) |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ตั้งแต่ 1 กันยายน 2488) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ[13] |
ควง อภัยวงศ์ | 86 |
ดิเรก ชัยนาม | 66 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489[14]
มีนาคม 2489[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | |
ปรีดี พนมยงค์ | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
---|---|
ราษฎร | ประชาธิปัตย์ |
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (16 ธันวาคม 2484 – 5 ธันวาคม 2488) |
นายกรัฐมนตรี (17 กันยายน 2488 – 31 มกราคม 2489) |
พรรคการเมือง | ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ[15] |
พรรคสหชีพ | ปรีดี พนมยงค์ | 116 |
พรรคประชาธิปัตย์ | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 36 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489[16]
มิถุนายน 2489[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมิถุนายน ปี 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ปรีดี พนมยงค์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
ปรีดี พนมยงค์ |
---|
ราษฎร |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2489) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ปรีดี พนมยงค์ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489[17]
สิงหาคม 2489[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมิถุนายน ปี 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ปรีดี พนมยงค์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก เนื่องจากถูกใส่ความกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | |
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
---|---|
แนวรัฐธรรมนูญ | ประชาธิปัตย์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2489) |
นายกรัฐมนตรี (17 กันยายน 2488 – 31 มกราคม 2489) |
พรรคการเมือง | ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ | 113 |
พรรคประชาธิปัตย์ | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 52 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489[18]
พฤษภาคม 2490[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนพฤษภาคม ปี 2490 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | ||
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ | มังกร พรหมโยธี | ควง อภัยวงศ์ |
---|---|---|
แนวรัฐธรรมนูญ | ประชาธิปัตย์ | |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2489) |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (10 มีนาคม 2485 – 1 สิงหาคม 2487) |
นายกรัฐมนตรี (31 มกราคม – 24 มีนาคม 2489) |
พรรคการเมือง | ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ | 132 |
พรรคประชาธิปัตย์ | ควง อภัยวงศ์ | 55 |
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | มังกร พรหมโยธี | 7 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490[19]
พฤศจิกายน 2490[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2490 เป็นการลงมติของคณะทหารแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการถูกยึดอำนาจ
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
ควง อภัยวงศ์ |
---|
ประชาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (31 มกราคม – 24 มีนาคม 2489) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ควง อภัยวงศ์ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490[20]
กุมภาพันธ์ 2491[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2491 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากมีการเลือกตั้งทั่วไป
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
ควง อภัยวงศ์ |
---|
ประชาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 9 พฤศจิกายน 2490) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ควง อภัยวงศ์ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491[21]
เมษายน 2491[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนเมษายน ปี 2491 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
แปลก พิบูลสงคราม |
---|
ธรรมาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (16 ธันวาคม 2481 – 1 สิงหาคม 2487) |
นายกรัฐมนตรีผู้แถลงนโยบาย | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง |
แปลก พิบูลสงคราม | 70 | 26 | 73 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491[22]
พ.ศ. 2492[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2492 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
แปลก พิบูลสงคราม |
---|
ธรรมาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
แปลก พิบูลสงคราม | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492[23]
พ.ศ. 2494[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในธันวาคม ปี 2494 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
แปลก พิบูลสงคราม |
---|
ธรรมาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
แปลก พิบูลสงคราม | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494[24]
พ.ศ. 2495[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในมีนาคม ปี 2495 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
แปลก พิบูลสงคราม |
---|
ธรรมาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
แปลก พิบูลสงคราม | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495[25]
พ.ศ. 2500[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในมีนาคม ปี 2500 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากสภาครบวาระ
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
แปลก พิบูลสงคราม |
---|
เสรีมนังคศิลา |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
แปลก พิบูลสงคราม | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2500[26]
พ.ศ. 2501[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในมกราคม ปี 2501 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พจน์ สารสิน พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
ถนอม กิตติขจร |
---|
ชาติสังคม |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (ตั้งแต่ 23 กันยายน 2500) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ถนอม กิตติขจร | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501[27]
พ.ศ. 2502[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในกุมภาพันธ์ ปี 2502 เป็นการลงมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถนอม กิตติขจร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากลาออก และรัฐประหาร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาร่างรัฐธรรมนูญ |
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ |
---|
อิสระ |
หัวหน้าคณะปฏิวัติ (ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2501) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502[28]
พ.ศ. 2506[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในธันวาคม ปี 2506 เป็นการลงมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากถึงแก่อสัญกรรม
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาร่างรัฐธรรมนูญ |
ถนอม กิตติขจร |
---|
อิสระ |
นายกรัฐมนตรี (1 มกราคม – 20 ตุลาคม 2501) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ถนอม กิตติขจร | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506[29]
พ.ศ. 2512[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2512 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถนอม กิตติขจร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
ถนอม กิตติขจร |
---|
สหประชาไทย |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 9 ธันวาคม 2506) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ถนอม กิตติขจร | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2512[30]
พ.ศ. 2515[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2515 เป็นการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถนอม กิตติขจร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากรัฐประหารตัวเอง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ |
ถนอม กิตติขจร |
---|
อิสระ |
นายกรัฐมนตรี (9 ธันวาคม 2506 – 17 พฤศจิกายน 2514) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ถนอม กิตติขจร | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515[31]
พ.ศ. 2517[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2517 เป็นการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ |
สัญญา ธรรมศักดิ์ |
---|
อิสระ |
นายกรัฐมนตรี (14 ตุลาคม 2516 – 22 พฤษภาคม 2517) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
สัญญา ธรรมศักดิ์ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งนายสัญญา ธรรมศักดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517[32]
กุมภาพันธ์ 2518[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2518 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก และจัดให้มีการเลือกตั้ง
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | ชาติชาย ชุณหะวัณ |
---|---|
ประชาธิปัตย์ | ชาติไทย |
นายกรัฐมนตรี (17 กันยายน 2488 – 31 มกราคม 2489) |
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (30 พฤษภาคม 2517 – 20 มกราคม 2518) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ [33] |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 133 |
ชาติชาย ชุณหะวัณ | 52 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518[34]
แต่เมื่อแถลงนโยบาย สภาผู้แทนราษฎรกลับไม่ได้รับความไว้วางใจ เป็นรัฐบาลแรกและรัฐบาลเดียวในประวัติศาสตร์ไทย
นายกรัฐมนตรีผู้แถลงนโยบาย | ไว้วางใจ | ไม่ไว้วางใจ | งดออกเสียง |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 111 | 152 | 6 |
มีนาคม 2518[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมีนาคม ปี 2518 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบาย
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร | |
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | สมคิด ศรีสังคม |
---|---|
กิจสังคม | สังคมนิยมแห่งประเทศไทย |
ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (29 ธันวาคม 2516 – 7 ตุลาคม 2517) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 26 มกราคม 2518) |
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | 135 |
สมคิด ศรีสังคม | 59 |
งดออกเสียง | 88 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518[35]
เมษายน 2519[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนเมษายน ปี 2519 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
---|
ประชาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (15 กุมภาพันธ์ – 14 มีนาคม 2518) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 206 |
จากสมาชิกทั้งหมด | 279 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2519[36]
กันยายน 2519[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกันยายน ปี 2519 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
---|
ประชาธิปัตย์ |
นายกรัฐมนตรี (ตั้งแต่ 20 เมษายน 2519) |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2519[37]
ตุลาคม 2519[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนตุลาคม ปี 2519 เป็นการลงมติของคณะการปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากถูกยึดอำนาจ
ผู้ได้รับการเสนอชื่อในคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน |
ธานินทร์ กรัยวิเชียร |
---|
อิสระ |
ผู้พิพากษาศาลฎีกา |
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ธานินทร์ กรัยวิเชียร | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519[38]
พ.ศ. 2520[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2520 เป็นการลงมติของสภานโยบายแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากธานินทร์ กรัยวิเชียร ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากถูกยึดอำนาจ
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520[39]
พ.ศ. 2522[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2522 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกหลังรัฐประหาร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ[40] |
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ | 336 |
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | 190 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2522[41]
พ.ศ. 2523[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2523 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากลาออก ก่อนการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สส. | สว. | รวม |
---|---|---|---|
เปรม ติณสูลานนท์ | 195 | 200 | 395 |
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | 79 | 1 | 80 |
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ | 4 | 1 | 5 |
หะริน หงสกุล | 2 | - | 2 |
เสริม ณ นคร | - | 2 | 2 |
ทวี จุลละทรัพย์ | - | 2 | 2 |
สงัด ชลออยู่ | - | 1 | 1 |
สมัคร สุนทรเวช | - | 1 | 1 |
ไม่ออกเสียง | 1 | - | 1 |
บัตรเสีย | 4 | 3 | 7 |
รวมออกเสียง | 285 | 211 | 496 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523[42]
พ.ศ. 2526[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2526 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเปรม ติณสูลานนท์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
พรรคที่สนับสนุน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ | คะแนน |
---|---|
พรรคประชากรไทย | 36 |
พรรคชาติประชาธิปไตย | 15 |
พรรคกิจสังคม | 101 |
พรรคชาติไทย | 108 |
พรรคประชาธิปัตย์ | 57 |
รวม | 317 |
งดออกเสียง | 7 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2526[43]
พ.ศ. 2529[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2529 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเปรม ติณสูลานนท์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | คะแนน[44] |
---|---|
เปรม ติณสูลานนท์ | 266 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529[45]
พ.ศ. 2531[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2531 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเปรม ติณสูลานนท์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ชาติชาย ชุณหะวัณ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531[46]
พ.ศ. 2533[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2533 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากชาติชาย ชุณหะวัณ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการลาออก
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
ชาติชาย ชุณหะวัณ | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533[47]
พ.ศ. 2534[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2534 เป็นการลงมติของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากชาติชาย ชุณหะวัณ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการถูกยึดอำนาจ
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | สถานะของผลการลงมติ |
อานันท์ ปันยารชุน | ได้รับความไว้วางใจ |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งอานันท์ ปันยารชุนเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2534[48]
พ.ศ. 2535[แก้]
เมษายน[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนเมษายน ปี 2535 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากอานันท์ ปันยารชุน ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
สุจินดา คราประยูร | 195 |
ชวลิต ยงใจยุทธ | 165 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสุจินดา คราประยูรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535[49]
กันยายน[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกันยายน ปี 2535 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากอานันท์ ปันยารชุน ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
ชวน หลีกภัย | 207 |
ประมาณ อดิเรกสาร | 153 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535[50]
พ.ศ. 2538[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2538 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 นายชวน หลีกภัย ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
บรรหาร ศิลปอาชา | 233 |
ชวน หลีกภัย | 158 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งนายบรรหาร ศิลปอาชาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538[51]
พ.ศ. 2539[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2539 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539 นายบรรหาร ศิลปอาชา ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | ผลการลงมติ |
ชวลิต ยงใจยุทธ | 219 |
ชวน หลีกภัย | 174 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกชวลิต ยงใจยุทธเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539[52]
พ.ศ. 2540[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2540 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
พรรคการเมือง | ชวน หลีกภัย | ชาติชาย ชุณหะวัณ | รวม |
พรรคความหวังใหม่ | - | 125 | 125 |
พรรคประชาธิปัตย์ | 123 | - | 123 |
พรรคชาติพัฒนา | - | 52 | 52 |
พรรคชาติไทย | 39 | - | 39 |
พรรคประชากรไทย | 13 | 5 | 18 |
พรรคเอกภาพ | 8 | - | 8 |
พรรคมวลชน | - | 2 | 2 |
พรรคพลังธรรม | 1 | - | 1 |
พรรคไท | 1 | - | 1 |
รวม | 191 | 184 | 375 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540[53]
พ.ศ. 2544[แก้]
ดูบทความหลักที่: การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2544
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2544 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 นายชวน หลีกภัย พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | รวม |
ทักษิณ ชินวัตร[54] | 340 | 127 | 30 | 497 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544[55]
พ.ศ. 2548[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2548 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ปฏิบัติหน้าที่จนครบวาระ
พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ไทยรักไทย | 374 | – | 1 | 2 | 377 |
ประชาธิปัตย์ | – | – | 92 | 4 | 96 |
ชาติไทย | 1 | 1 | 23 | – | 25 |
มหาชน | 2 | – | – | – | 2 |
รวม | 377 | 1 | 116 | 6 | 494 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548[56]
มกราคม 2551[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมกราคม ปี 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนท์ ประกาศให้เลือกตั้งทั่วไป
พรรคการเมือง | สมัคร สุนทรเวช | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | งดออกเสียง | รวม |
พรรคพลังประชาชน | 231 | - | 2 | 233 |
พรรคประชาธิปัตย์ | - | 163 | 1 | 164 |
พรรคเพื่อแผ่นดิน | 21 | - | - | 21 |
พรรคชาติไทย | 37 | - | - | 37 |
พรรคมัชฌิมาธิปไตย | 7 | - | - | 7 |
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา | 9 | - | - | 9 |
พรรคประชาราช | 5 | - | - | 5 |
รวม | 310 | 163 | 3 | 476 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2551 [57]
กันยายน 2551[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกันยายน ปี 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช ถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง
พรรคการเมือง | สมชาย วงศ์สวัสดิ์ | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | งดออกเสียง | รวม |
พรรคพลังประชาชน | 226 | - | 4 | 230 |
พรรคประชาธิปัตย์ | - | 163 | 1 | 164 |
พรรคเพื่อแผ่นดิน | 21 | - | - | 21 |
พรรคชาติไทย | 30 | - | - | 30 |
พรรคมัชฌิมาธิปไตย | 7 | - | - | 7 |
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา | 9 | - | - | 9 |
พรรคประชาราช | 5 | - | - | 5 |
รวม | 298 | 163 | 5 | 466 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 [58]
ธันวาคม 2551[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนธันวาคม ปี 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง
พรรคการเมือง | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | ประชา พรหมนอก | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
พรรคเพื่อไทย | - | 178 | - | - | 178 |
พรรคประชาธิปัตย์ | 163 | - | 1 | 1 | 165 |
พรรคเพื่อแผ่นดิน | 12 | 9 | - | - | 21 |
พรรคชาติไทยพัฒนา | 14 | 1 | - | - | 15 |
พรรคภูมิใจไทย | 8 | 3 | - | - | 11 |
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา | 5 | 2 | 1 | 1 | 9 |
พรรคประชาราช | - | 5 | - | - | 5 |
กลุ่มเพื่อนเนวิน | 22 | - | 1 | - | 23 |
กลุ่มอื่นๆ[^ 1] | 11 | - | - | - | 11 |
รวม | 235 | 198 | 3 | 2 | 438 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [59]
พ.ศ. 2554[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2554 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร | พรรคเพื่อไทย | 261 | - | 4 | - | 265 |
พรรคประชาธิปัตย์ | - | 3 | 152 | 4 | 159 | |
พรรคภูมิใจไทย | - | - | 34 | - | 34 | |
พรรคชาติไทยพัฒนา | 19 | - | - | - | 19 | |
พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน | 7 | - | - | - | 7 | |
พรรคพลังชล | 7 | - | - | - | 7 | |
พรรครักประเทศไทย | - | - | 4 | - | 4 | |
พรรคมาตุภูมิ | - | - | 2 | - | 2 | |
พรรครักษ์สันติ | - | - | 1 | - | 1 | |
พรรคมหาชน | 1 | - | - | - | 1 | |
พรรคประชาธิปไตยใหม่ | 1 | - | - | - | 1 | |
รวม | 296 | 3 | 197 | 4 | 500 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 [60]
พ.ศ. 2557[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2557 เป็นการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และเกิดเหตุการณ์รัฐประหาร
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ประยุทธ์ จันทร์โอชา | 191 | - | 3 | 3 | 197 |
รวม | 191 | 0 | 3 | 3 | 197 |
และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557[61]
พ.ศ. 2562[แก้]
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2562 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 ในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา จัดให้มีการเลือกตั้ง ภายหลังการรัฐประหาร
พรรคการเมือง | ประยุทธ์ จันทร์โอชา | ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
วุฒิสภา | 249 | - | 1 | - | 250 |
เพื่อไทย | - | 136 | - | - | 136 |
พลังประชารัฐ | 116 | - | - | - | 116 |
อนาคตใหม่ | - | 79 | - | 2 | 81 |
ประชาธิปัตย์ | 51 | - | 1 | - | 52 |
ภูมิใจไทย | 50 | - | 1 | - | 51 |
เสรีรวมไทย | - | 10 | - | - | 10 |
ชาติไทยพัฒนา | 10 | - | - | - | 10 |
ประชาชาติ | - | 7 | - | - | 7 |
เศรษฐกิจใหม่ | - | 6 | - | - | 6 |
เพื่อชาติ | - | 5 | - | - | 5 |
รวมพลังประชาชาติไทย | 5 | - | - | - | 5 |
ชาติพัฒนา | 3 | - | - | - | 3 |
พลังท้องถิ่นไท | 3 | - | - | - | 3 |
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย | 2 | - | - | - | 2 |
พลังปวงชนไทย | - | 1 | - | - | 1 |
พลังชาติไทย | 1 | - | - | - | 1 |
ประชาภิวัฒน์ | 1 | - | - | - | 1 |
ไทยศรีวิไลย์ | 1 | - | - | - | 1 |
พลังไทยรักไทย | 1 | - | - | - | 1 |
ครูไทยเพื่อประชาชน | 1 | - | - | - | 1 |
ประชานิยม | 1 | - | - | - | 1 |
ประชาธรรมไทย | 1 | - | - | - | 1 |
ประชาชนปฏิรูป | 1 | - | - | - | 1 |
พลเมืองไทย | 1 | - | - | - | 1 |
ประชาธิปไตยใหม่ | 1 | - | - | - | 1 |
พลังธรรมใหม่ | 1 | - | - | - | 1 |
รวม | 500 | 244 | 3 | 2 | 749 |
จึงถือได้ว่ามติที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ลงมติเลือก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง[62]และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562[63]
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ ประกอบด้วยกลุ่มของนายสุวิทย์ คุณกิตติ, กลุ่มราชบุรีของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม, กลุ่มพ่อมดดำของนายสุชาติ ตันเจริญ และกลุ่มที่ถูกเรียกว่ากลุ่มอำนาจพิเศษ
อ้างอิง[แก้]
- เอกสารในราชกิจจานุเบกษา:
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/573.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/387.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/826.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2477/A/644.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2480/A/916.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2480/A/1465.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2481/A/706.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/A/015/646.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2487/A/045/731.PDF
- ↑ รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 13/วันที่ 23 สิงหาคม 2488
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/A/047/507.PDF
- ↑ รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 22/วันที่ 17 กันยายน 2488
- ↑ ย้อนอดีตการเมืองไทย : แพ้โหวตสภา นายกฯ ต้องลาออก - Workpoint News, สืบค้นเมื่อ 2022-05-04
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/009/75.PDF
- ↑ สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ประวัติศาสตร์การเมืองไทยตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2529.
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/016/118.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/042/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/056/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2490/A/025/420.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2490/A/054/690.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2491/A/012/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2491/A/020/240.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2492/A/034/493.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/073/7.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2495/A/021/3.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/029/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2501/A/002/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2502/A/022/21.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/A/118/765.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/A/020/316.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/A/020/316.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/A/091/1.PDF
- ↑ Retro Politics Podcast EP.10 ล้มนายกฯ ราโชมอนการเมือง เรื่องเดียวเล่าคนละอย่าง : Matichon TV, สืบค้นเมื่อ 2022-07-13
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/A/038/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/A/058/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/063/3.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/114/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/124/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/A/112/1.PDF
- ↑ "[Maemalllane] นิทัศน์การเมืองไทย EP.006/1 - บ้านเมืองมีปัญหาต้องแก้ไข "พรรคประชากรไทย" มีวิธี". www.blockdit.com.
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/078/6.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/A/034/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2526/A/068/1.PDF
- ↑ การพัฒนาพรรคการเมืองไทย : ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/A/138/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/A/138/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/A/138/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/042/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/041/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/101/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/E/027/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/041/3.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/107/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/D/021/117.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/012/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00154612.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/023/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/156/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/191/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/159/1.PDF
- ↑ ชนะถล่มทลาย "พล.อ.ประยุทธ์" ได้คะแนนเสียงท่วมท้น 500 เสียง
- ↑ พระบรมราชโองการ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) สมัยที่ 2