ข้ามไปเนื้อหา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2489
หน้าแรกของรัฐธรรมนูญ
ภาพรวม
ท้องที่ใช้ประเทศไทย ประเทศไทย
สร้างขึ้น12 กรกฎาคม พ.ศ. 2488[1]
เสนอ21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489[2]
วันประกาศ9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489[3]
มีผลใช้บังคับ10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489[3]
ระบบรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
โครงสร้างรัฐบาล
ฝ่าย3
ประมุขแห่งรัฐพระมหากษัตริย์
ฝ่ายนิติบัญญัติสองสภา (รัฐสภา: พฤฒสภา, สภาผู้แทนราษฏร)
ฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี, นำโดย นายกรัฐมนตรี
ฝ่ายตุลาการศาลไทย
ระบอบรัฐเดี่ยว
คณะผู้เลือกตั้งไม่มี
นิติบัญญัติชุดแรก6 มกราคม พ.ศ. 2489 (สภาผู้แทนราษฎร)
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 (พฤฒสภา)
บริหารชุดแรก11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
ตุลาการชุดแรก1 ตุลาคม พ.ศ. 2489
ยกเลิก8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
ผู้ยกร่างสภาผู้แทน
ผู้เขียนคณะกรรมาธิการวิสามัญร่างรัฐธรรมนูญ
ผู้ลงนามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
ฉบับก่อนหน้ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475
เอกสารฉบับเต็ม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ที่วิกิซอร์ซ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489[4]
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงกำลังลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญ
ปรีดี พนมยงค์ กำลังลงนามในรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของไทย ร่างโดยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 และใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยคณะรัฐประหารอันมีจอมพล ผิน ชุณหะวัณ นายทหารกองหนุน เป็นหัวหน้าคณะ รวมอายุการใช้งาน 1 ปี 5 เดือน 28 วัน

รัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนดให้มีพฤฒสภา (วุฒิสภา) ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยกำหนดให้มีสมาชิกในสภานี้ทั้งสิ้น 80 คน

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 3/2488 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ขอเสนอเปลี่ยนระเบียบวาระเรื่องตั้งกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญขึ้นพิจารณาก่อน
  2. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 7/2489 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เพื่อพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ ในวาระที่ 1
  3. 3.0 3.1 ราชกิจจานุเบกษา, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย, เล่ม ๖๓ ตอนที่ ๓๐ ก หน้า ๓๑๘, ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๘๙
  4. บันทึกประวัติศาสตร์ “พระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ” กฎหมายสูงสุดของประเทศไทย

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]