องค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดว่าด้วย |
การเมืองการปกครองไทย |
---|
![]() |
|
|
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง |
![]() |
องค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เพื่อให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายของการปฏิรูปทางการเมือง ที่ต้องการให้เป็นการเมืองใหม่ ให้สิทธิและเสรีภาพกับประชาชน โดยมุ่งหวังให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น ต่อมาได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่งผลให้ปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ตามหมวด 10 ศาล หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ และหมวด 12 องค์กรอิสระ รวมไปถึงหมวด 13 องค์กรอัยการ ประกอบด้วย[1]
หมวด 10 ศาล[แก้]
- ส่วนที่ 2 ศาลยุติธรรม
- ส่วนที่ 3 ศาลปกครอง
- ส่วนที่ 4 ศาลทหาร
หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ[แก้]
หมวด 12 องค์กรอิสระ[แก้]
- ส่วนที่ 2 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)
- ส่วนที่ 3 ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ผผ.)
- ส่วนที่ 4 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
- ส่วนที่ 5 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ค.ต.ง.)
- ส่วนที่ 6 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)