ข้ามไปเนื้อหา

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26

หน้าถูกกึ่งป้องกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26
ชุดที่ 25 ชุดที่ 27
ห้องประชุมพระสุริยัน สัปปายะสภาสถาน
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร
ที่ประชุมสัปปายะสภาสถาน
วาระ14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566[a] – ปัจจุบัน
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566
รัฐบาล
ฝ่ายค้านพรรคประชาชนและพรรคร่วมฝ่ายค้านอีก 5 พรรค
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก500
ประธานวันมูหะมัดนอร์ มะทา
รองประธานคนที่ 1ปดิพัทธ์ สันติภาดา
ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2566
จนถึง 7 สิงหาคม 2567
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
ตั้งแต่ 13 กันยายน 2567
รองประธานคนที่ 2พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2566
จนถึง 10 กันยายน 2567
ภราดร ปริศนานันทกุล
ตั้งแต่ 13 กันยายน 2567
นายกรัฐมนตรี
ผู้นำฝ่ายค้าน
พรรคครองพรรคเพื่อไทย
พระมหากษัตริย์
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยประชุม
ที่ 13 กรกฎาคม 2566 – 30 ตุลาคม 2566
ที่ 212 ธันวาคม 2566 – 9 เมษายน 2567
ที่ 33 กรกฎาคม 2567 – 30 ตุลาคม 2567
ที่ 412 ธันวาคม 2567 –
สมัยประชุมวิสามัญ
ที่ 118 มิถุนายน 2567 – 21 มิถุนายน 2567

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26 (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 – ปัจจุบัน) เป็นสภาล่างของรัฐสภาหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 500 คน โดย 400 คนเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และอีก 100 คนเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

คณะกรรมการการเลือกตั้งได้ประกาศรับรองผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2566[1]

องค์ประกอบของสภา

สภาผู้แทนราษฎรไทยประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 500 ที่นั่ง จากพรรคการเมืองต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

พรรค จำนวนสมาชิก
ได้รับเลือกตั้ง[2] ปัจจุบัน[3] เปลี่ยนแปลง
ประชาชน 0 143 เพิ่มขึ้น 143
เพื่อไทย 141 142 เพิ่มขึ้น 1
ภูมิใจไทย 71 69 ลดลง 2
รวมไทยสร้างชาติ 36 36 Steady
ประชาธิปัตย์ 25 25 Steady
กล้าธรรม 0 24 เพิ่มขึ้น 24
พลังประชารัฐ 40 20 ลดลง 20
ชาติไทยพัฒนา 10 10 Steady
ประชาชาติ 9 9 Steady
ไทยสร้างไทย 6 6 Steady
ชาติพัฒนา 2 3 เพิ่มขึ้น 1
ไทรวมพลัง 2 2 Steady
เป็นธรรม 1 1 Steady
เสรีรวมไทย 1 1 Steady
ประชาธิปไตยใหม่ 1 1 Steady
ไทยก้าวหน้า 0 1 เพิ่มขึ้น 1
ก้าวไกล 151 0 ลดลง 151
พลังสังคมใหม่ 1 0 ลดลง 1
ใหม่ 1 0 ลดลง 1
ท้องที่ไทย 1 0 ลดลง 1
ครูไทยเพื่อประชาชน 1 0 ลดลง 1
ว่าง 0 5 เพิ่มขึ้น 5
ถูกสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่ 0 2[b][c] เพิ่มขึ้น 2
ทั้งหมด 500 493 ลดลง 7

จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค ประเภท และภาค

พรรค บัญชี
รายชื่อ
แบ่งเขต รวม
กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก
ประชาชน 34 31 34 14 8 3 17 2 143
เพื่อไทย 29 1 13 17 74 - 4 4 142
ภูมิใจไทย 3 - 16 - 35 12 2 3 71
รวมไทยสร้างชาติ 13 - 4 - - 14 1 4 36
ประชาธิปัตย์ 3 - - 1 2 17 - 2 25
กล้าธรรม 4 - 3 5 3 3 2 4 24
พลังประชารัฐ 1 - 9 - 4 4 2 - 20
ชาติไทยพัฒนา 1 - 8 - 1 - - - 10
ประชาชาติ 2 - - - - 7 - - 9
ไทยสร้างไทย 1 - - - 5 - - - 6
ชาติพัฒนา 1 - 1 - - - 1 - 3
ไทรวมพลัง - - - - 2 - - - 2
เป็นธรรม 1 - - - - - - - 1
เสรีรวมไทย 1 - - - - - - - 1
ประชาธิปไตยใหม่ 1 - - - - - - - 1
ไทยก้าวหน้า - 1 - - - - - - 1
รวม 95 33 88 37 134 60 29 19 495

เหตุการณ์สำคัญ

  • 15 มิถุนายน 2566: มีรายงานว่าคณะกรรมการการเลือกตั้งจะประกาศรับรองผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวน 321 คน จาก 400 คน[6] แต่ในวันที่ 19 มิถุนายน 2566 คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศรับรองผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 500 คน[7] โดยรายชื่อผู้ได้รับการเลือกตั้งได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2566[8][9]
  • 19 กรกฎาคม 2566: ในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 2 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) สุทิน คลังแสง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทยในขณะนั้น ได้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลในขณะนั้น เพื่อให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี อีกครั้งหนึ่ง แต่ก่อนที่จะมีการลงมติ ศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีคำตัดสิน 7-2 เสียง ให้พิธาหยุดปฏิบัติหน้าที่[20] และยังมีข้อถกเถียงว่าการเสนอชื่อพิธาอีกครั้งเป็นญัตติซ้ำหรือไม่ ผลปรากฏว่ารัฐสภามีมติเสียงข้างมากเห็นว่าเป็นญัตติซ้ำ ด้วยมติเห็นชอบ 395 เสียง ไม่เห็นชอบ 312 เสียง งดออกเสียง 8 เสียง ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้ไม่สามารถเสนอชื่อพิธาได้อีก และถือเป็นมาตรฐานเดียวกันกับการเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีที่เหลืออยู่ในบัญชี[21]
  • 4 สิงหาคม 2566: ในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 3 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เดิมมีกำหนดจะลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ศาลรัฐธรรมนูญได้ตัดสินให้เลื่อนการพิจารณาคำร้องของผู้ตรวจการแผ่นดินออกไปก่อน จึงทำให้ไม่สามารถลงมติได้จนกว่าจะมีคำตัดสินเป็นอันสิ้นสุด[22] จึงเหลือเพียงการพิจารณาประเด็นแก้ไขรัฐธรรมนูญ ยกเลิกมาตรา 272 ที่ให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภาในการลงมติให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีที่นำเสนอโดย ชัยธวัช ตุลาธน[23] แต่เนื่องจากสมาชิกวุฒิสภาได้ขาดการประชุมเป็นจำนวนมากในช่วงแรก และมีการเสนอญัตติด่วนเรื่องการเสนอชื่อผู้ดำรงตำหน่งนายกรัฐมนตรีซ้ำไม่ได้ โดยรังสิมันต์ โรม และมีการถกเถียงกันจากหลายฝ่าย ท้ายที่สุดวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภา จึงประกาศเลื่อนประชุมในเวลา 11 นาฬิกา 27 นาที [24]
  • 21 สิงหาคม 2566: พรรคเพื่อไทยและพรรคการเมืองอีก 10 พรรคได้แก่ พรรคภูมิใจไทย (71), พรรคพลังประชารัฐ (40), พรรครวมไทยสร้างชาติ (36), พรรคชาติไทยพัฒนา (10), พรรคประชาชาติ (9), พรรคชาติพัฒนากล้า (2), พรรคเพื่อไทรวมพลัง (2), พรรคเสรีรวมไทย (1), พรรคพลังสังคมใหม่ (1) และพรรคท้องที่ไทย (1) ร่วมกันแถลงข่าวจัดตั้งรัฐบาลจำนวน 314 เสียงที่อาคารรัฐสภาโดยไม่มีการแก้ไขประมวลกฎหมาย มาตรา 112 และไม่มีพรรคก้าวไกลเข้าร่วมรัฐบาล พร้อมกับมีมติเสนอชื่อนายเศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดทนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทยต่อรัฐสภาในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 4 ในวันอังคารที่ 22 สิงหาคม[25]
  • 22 สิงหาคม 2566: ในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว ส.ส. น่าน และหัวหน้าพรรคเพื่อไทยในขณะนั้นได้เสนอชื่อนายเศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดทนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย เพื่อให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้นายเศรษฐาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ด้วยคะแนนเห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165 เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ไม่เข้าประชุม 38 เสียง แต่ในระหว่างการขานชื่อได้เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้นทำให้การขานชื่อต้องหยุดชะงักไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง โดยมีสมาชิกวุฒิสภาเห็นชอบจำนวน 152 เสียง ซึ่งนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรในฐานะประธานรัฐสภาจะได้นำชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยต่อไป
  • 23 สิงหาคม 2566: ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 โดยเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้อัญเชิญพระบรมราชโองการไปยังที่ทำการพรรคเพื่อไทยในเวลา 18.00 น.[26]
  • 7 สิงหาคม 2567: ศาสรัฐธรรมนูญมีมติยุบพรรคก้าวไกลและตัดสิทธิ์ทางการเมืองกรรมการบริหารพรรคเป็นเวลา 10 ปี ทำให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรที่เป็นกรรมการบริหารพรรคสิ้นสุดการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ทำให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคก้าวไกลเหลือ 143 คน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเหลือ 494 คน
  • 9 สิงหาคม 2567: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากอดีตพรรคก้าวไกลจำนวน 143 คน ย้ายเข้าสังกัดพรรคถิ่นกาขาวชาววิไล และเปลี่ยนชื่อพรรคเป็นพรรคประชาชน[28]
  • 18 สิงหาคม 2567: ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งน.ส.แพทองธารเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 โดยเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้อัญเชิญพระบรมราชโองการไปยังที่ทำการพรรคเพื่อไทยในเวลา 9.00 น.[31][32]
  • 11 ธันวาคม 2567: พรรคพลังประชารัฐมีมติขับสส.ในสังกัดของร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า จำนวน 20 คนออกจากพรรค[33]

กฎหมายสำคัญ

พระราชกำหนด

  • 3 สิงหาคม 2566 :
    • พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566
    • พระราชกำหนดการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อปฏิบัติตามความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีอากร พ.ศ. 2566

ร่างกฎหมาย

  • 22 มีนาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
  • 27 มีนาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. .... (ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม)
  • 10 กรกฎาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 14/2559 เรื่อง คณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการกำหนดอำนาจหน้าที่ของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ลงวันที่ 4 เมษายน พุทธศักราช 2559 พ.ศ. ....
  • 24 กรกฎาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  • 31 กรกฎาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 พ.ศ. ....
  • 21 สิงหาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  • 5 กันยายน 2567 : ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 พ.ศ. ....
  • 25 กันยายน 2567 : ร่างพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  • 9 ตุลาคม 2567 :
    • ร่างพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ...
    • ร่างพระราชบัญญัติการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
    • ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
    • ร่างพระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  • 30 ตุลาคม 2567 : ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ร่างกฎหมายห้ามตีเด็ก)
  • 18 ธันวาคม 2567 :
    • ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
    • ร่างพระราชบัญญัติอำนาจเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. ....

รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

ได้รับเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งนับถึงวันสิ้นอายุสภา
พ้นจากตำแหน่ง
เลื่อนขึ้นมาภายหลัง
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
- ศิริกัญญา ตันสกุล ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- เซีย จำปาทอง ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- รังสิมันต์ โรม ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- พริษฐ์ วัชรสินธุ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ณัฐวุฒิ บัวประทุม ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ชัยวัฒน์ สถาวรวิจิตร ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- วาโย อัศวรุ่งเรือง ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ประเสริฐพงษ์ ศรนวัตร์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- มานพ คีรีภูวดล ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- รอมฎอน ปันจอร์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- กรุณพล เทียนสุวรรณ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- พูนศักดิ์ จันทร์จำปี ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ศุภโชค ไชยสัจ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ศนิวาร บัวบาน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- นิติพล ผิวเหมาะ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ปารมี ไวจงเจริญ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- วรภพ วิริยะโรจน์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- สุรวาท ทองบุ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- วรรณวิภา ไม้สน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- เลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ชุติมา คชพันธ์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- จุลพงศ์ อยู่เกษ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- กัลยพัชร รจิตโรจน์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
- ภคมน หนุนอนันต์ ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
2 สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
3 ประเสริฐ จันทรรวงทอง ลาออก 15 มกราคม 2567[34]
4 ชูศักดิ์ ศิรินิล
5 ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
6 เกรียง กัลป์ตินันท์
7 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ ลาออก 19 มกราคม 2567
8 สุชาติ ตันเจริญ
9 สุทิน คลังแสง
10 ชัยเกษม นิติสิริ ลาออก 5 ตุลาคม 2566[35]
11 สมศักดิ์ เทพสุทิน ลาออก 15 มกราคม 2567[36]
12 วิสุทธิ์ ไชยณรุณ
13 จาตุรนต์ ฉายแสง
14 ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร
15 นพดล ปัทมะ
16 สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ ลาออก 2 ตุลาคม 2566[35]
17 ประยุทธ์ ศิริพานิชย์
18 อดิศร เพียงเกษ
19 นิคม บุญวิเศษ
20 ขัตติยา สวัสดิผล
21 สุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล ลาออก 1 สิงหาคม 2567[37]
22 ประวีณ์นุช เลิศจิตติสุทธิ์
23 สุรเกียรติ เทียนทอง
24 จิตติพจน์ วิริยะโรจน์
25 ดนุพร ปุณณกันต์
26 อนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด
27 พลเอก พิศาล วัฒนวงษ์คีรี ลาออก 15 ตุลาคม 2567[38]
28 สุธรรม แสงประทุม
29 ลิณธิภรณ์ วริณวัชรโรจน์
30 ศรีญาดา ปาลิมาพันธ์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 ตุลาคม 2566[39]
31 เพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 ตุลาคม 2566[40]
32 ละออง ติยะไพรัช เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 17 มกราคม 2567[41]
33 ณณัฏฐ์ หงษ์ชูเวช เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 17 มกราคม 2567[42]
ลาออก 23 พฤษภาคม 2567[43]
34 ชนินทร์ รุ่งธนเกียรติ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 มกราคม 2567[44]
35 เชิดชัย ตันติศิรินทร์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 พฤษภาคม 2567[45]
36 ก่อแก้ว พิกุลทอง เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 2 สิงหาคม 2567[46]
37 ขจิตร ชัยนิคม เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 17 ตุลาคม 2567[47]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ลาออก 30 มิถุนายน 2566 [48][49]
2 สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ ลาออก 24 ตุลาคม 2566[50]
3 เอกนัฏ พร้อมพันธุ์
4 หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร ลาออก 1 ธันวาคม 2566
5 สุชาติ ชมกลิ่น
6 พิชชารัตน์ เลาหพงศ์ชนะ
7 วิทยา แก้วภราดัย
8 ชัชวาลล์ คงอุดม
9 จุติ ไกรฤกษ์
10 ธนกร วังบุญคงชนะ
11 เกรียงยศ สุดลาภา
12 ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง
13 ชัยวัฒน์ เป้าเปี่ยมทรัพย์
14 อนุชา บูรพชัยศรี เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 7 กรกฎาคม 2566[48]
16 ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 ตุลาคม 2566[51] (ข้ามลำดับที่ 15)
17 เกชา ศักดิ์สมบูรณ์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 4 ธันวาคม 2566[52]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
- กฤดิทัช แสงธนโยธิน เดิมสังกัดพรรคใหม่ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
- เชาวฤทธิ์ ขจรพงศ์กีรติ เดิมสังกัดพรรคพลังสังคมใหม่ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
- บัญชา เดชเจริญศิริกุล เดิมสังกัดพรรคท้องที่ไทย แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
- ปรีดา บุญเพลิง เดิมสังกัดพรรคครูไทยเพื่อประชาชน แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 อนุทิน ชาญวีรกูล
2 ศักดิ์สยาม ชิดชอบ ลาออก 17 มกราคม 2567[53]
3 ทรงศักดิ์ ทองศรี ลาออก 11 กันยายน 2566[54]
4 ชลัฐ รัชกิจประการ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 12 กันยายน 2566 [55]
6 นันทนา สงฆ์ประชา เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 22 มกราคม 2567[56] (ข้ามลำดับที่ 5)
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
2 ชวน หลีกภัย
3 บัญญัติ บรรทัดฐาน
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 วันมูหะมัดนอร์ มะทา
2 พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส ลาออก 1 กันยายน 2566
2 มังกร ยนต์ตระกูล เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 2 กันยายน 2566[57]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ลาออก 10 กรกฎาคม 2566[58]
2 ฐากร ตัณฑสิทธิ์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 กรกฎาคม 2566[59]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 สุรทิน พิจารณ์
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 วราวุธ ศิลปอาชา
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 วรรณรัตน์ ชาญนุกูล
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 กัณวีร์ สืบแสง
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ถูกตัดสิทธิทางการเมือง 10 ปีจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[60]
2 ชัยธวัช ตุลาธน ถูกตัดสิทธิทางการเมือง 10 ปีจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[60]
3 ศิริกัญญา ตันสกุล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
4 เซีย จำปาทอง ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
5 อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
6 อภิชาติ ศิริสุนทร ถูกตัดสิทธิทางการเมือง 10 ปีจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[60]
7 วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
8 รังสิมันต์ โรม ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
9 สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
10 สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
11 พริษฐ์ วัชรสินธุ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
12 ณัฐวุฒิ บัวประทุม ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
13 ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
14 เบญจา แสงจันทร์ ถูกตัดสิทธิทางการเมือง 10 ปีจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[60]
15 ชัยวัฒน์ สถาวรวิจิตร ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
16 ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
17 วาโย อัศวรุ่งเรือง ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
18 ประเสริฐพงษ์ ศรนวัตร์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
19 มานพ คีรีภูวดล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
20 รอมฎอน ปันจอร์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
21 กรุณพล เทียนสุวรรณ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
22 ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
23 พูนศักดิ์ จันทร์จำปี ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
24 ศุภโชค ไชยสัจ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
25 ศนิวาร บัวบาน ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
26 นิติพล ผิวเหมาะ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
27 ณธีภัสร์ กุลเศรษฐสิทธิ์ พ้นจากตำแหน่ง 27 มิถุนายน 2566[61]
28 ปารมี ไวจงเจริญ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
29 วรภพ วิริยะโรจน์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
30 สุรวาท ทองบุ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
31 คำพอง เทพาคำ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
32 วรรณวิภา ไม้สน ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
33 เลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
34 องค์การ ชัยบุตร ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
35 ชุติมา คชพันธ์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
36 จุลพงศ์ อยู่เกษ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
37 กัลยพัชร รจิตโรจน์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
38 ณรงเดช อุฬารกุล ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
39 ภคมน หนุนอนันต์ ย้ายไปสังกัดพรรคประชาชน
40 สุเทพ อู่อ้น เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 7 กรกฎาคม 2566[62] // ถูกตัดสิทธิทางการเมือง 10 ปีจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[60]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 เชาวฤทธิ์ ขจรพงศ์กีรติ ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคกล้าธรรม[63]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 กฤดิทัช แสงธนโยธิน ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคกล้าธรรม[63]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 บัญชา เดชเจริญศิริกุล ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคกล้าธรรม[64]
# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 ปรีดา บุญเพลิง ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคกล้าธรรม[65]

รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

กรุงเทพมหานคร

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร 1 ปารเมศ วิทยารักษ์สรรค์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ธิษะณา ชุณหะวัณ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 จรยุทธ จตุรพรประสิทธิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 ภัณฑิล น่วมเจิม พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 เฉลิมชัย กุลาเลิศ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
6 กันตภณ ดวงอัมพร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 ภัสริน รามวงศ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
8 ชยพล สท้อนดี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
9 ศุภณัฐ มีนชัยนันท์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
10 เอกราช อุดมอำนวย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
11 ศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
12 ภูริวรรธก์ ใจสำราญ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
13 เรืออากาศโท ธนเดช เพ็งสุข พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
14 สิริลภัส กองตระการ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
15 วิทวัส ติชะวาณิชย์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
16 พิมพ์กาญจน์ กีรติวิราปกรณ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
17 วีรวุธ รักเที่ยง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
18 ธีรัจชัย พันธุมาศ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
19 กันต์พงษ์ ประยูรศักดิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
20 ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ พรรคเพื่อไทย
21 ณัฐพงศ์ เปรมพูลสวัสดิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
22 สุภกร ตันติไพบูลย์ธนะ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
23 ปิยรัฐ จงเทพ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
24 เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
25 แอนศิริ วลัยกนก พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
26 ไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ พรรคไทยก้าวหน้า เดิมสังกัดพรรคก้าวไกล แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[66]
27 ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
28 รักชนก ศรีนอก พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
29 ทิสรัตน์ เลาหพล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
30 ธัญธร ธนินวัฒนาธร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
31 สิริน สงวนสิน พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
32 ปวิตตรา จิตตกิจ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
33 พงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล

ภาคกลาง

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กำแพงเพชร 1 ไผ่ ลิกค์ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
2 เพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3 อนันต์ ผลอำนวย พรรคพลังประชารัฐ
4 ปริญญา ฤกษ์หร่าย พรรคพลังประชารัฐ
ชัยนาท 1 อนุชา นาคาศัย พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 มณเฑียร สงฆ์ประชา พรรคภูมิใจไทย
นครนายก 1 พลตำรวจตรี สุรพล บุญมา พรรคเพื่อไทย
2 เกรียงไกร กิตติธเนศวร พรรคเพื่อไทย
นครปฐม 1 ศุภโชค ศรีสุขจร พรรคชาติไทยพัฒนา
2 พันโท สินธพ แก้วพิจิตร พรรครวมไทยสร้างชาติ
3 พาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์ พรรคชาติไทยพัฒนา
4 กิตติพล ปานพรหมมาศ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 อนุชา สะสมทรัพย์ พรรคชาติไทยพัฒนา
6 ชิษณุพงศ์ ตั้งเมธากุล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
นครสวรรค์ 1 กฤษฐ์หิรัญ เลิศอุฤทธิ์ภักดี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ทรงศักดิ์ ส่งเสริมอุดมชัย พรรคเพื่อไทย
3 สัญญา นิลสุพรรณ พรรครวมไทยสร้างชาติ
4 มานพ ศรีผึ้ง พรรคภูมิใจไทย
5 พีระเดช ศิริวันสาณฑ์ พรรคภูมิใจไทย
6 ประสาท ตันประเสริฐ พรรคชาติพัฒนา
นนทบุรี 1 สุรพันธ์ ไวยากรณ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ปัญญารัตน์ นันทภูษิตานนท์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 อนุสรณ์ แก้ววิเชียร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 นพดล ทิพยชล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 ปรีติ เจริญศิลป์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
6 คุณากร มั่นนทีรัย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 เกียรติคุณ ต้นยาง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
8 นนท์ ไพศาลลิ้มเจริญกิจ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ปทุมธานี 1 สรวีย์ ศุภปณิตา พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 เจษฎา ดนตรีเสนาะ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ชลธิชา แจ้งเร็ว พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 สกล สุนทรวาณิชย์กิจ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 มนัสนันท์ หลีนวรัตน์ พรรคเพื่อไทย
6 เชตวัน เตือประโคน พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 ประสิทธิ์ ปัทมผดุงศักดิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
พระนครศรีอยุธยา 1 ทวิวงศ์ โตทวิวงศ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ชริน วงศ์พันธ์เที่ยง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 พิมพฤดา ตันจรารักษ์ พรรคภูมิใจไทย
4 สุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล พรรคภูมิใจไทย
5 ประดิษฐ์ สังขจาย พรรคภูมิใจไทย
พิจิตร 1 ภัทรพงศ์ ภัทรประสิทธิ์ พรรคภูมิใจไทย
2 วินัย ภัทรประสิทธิ์ พรรคภูมิใจไทย
3 ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ พรรคภูมิใจไทย
พิษณุโลก 1 ปดิพัทธ์ สันติภาดา พรรคเป็นธรรม เดิมสังกัดพรรคก้าวไกล แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[67] //
ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี[68]
จเด็ศ จันทรา พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่
2 นพพล เหลืองทองนารา พรรคเพื่อไทย
3 พงษ์มนู ทองหนัก พรรครวมไทยสร้างชาติ
4 พิมพ์พิชชา ชัยศุภกิจเจริญ พรรคเพื่อไทย
5 ศุภปกรณ์ กิตยาธิคุณ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
เพชรบูรณ์ 1 พิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์ พรรคพลังประชารัฐ
2 จักรัตน์ พั้วช่วย พรรคพลังประชารัฐ
3 บุญชัย กิตติธาราทรัพย์ พรรคพลังประชารัฐ
4 วรโชติ สุคนธ์ขจร พรรคพลังประชารัฐ
5 วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ พรรคพลังประชารัฐ
6 อัคร ทองใจสด พรรคพลังประชารัฐ
ลพบุรี 1 สิทธิชัย หล่อประสงค์สุข พรรคเพื่อไทย
2 สาธิต ทวีผล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 มัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช พรรคภูมิใจไทย
4 นรินทร์ คลังผา พรรคภูมิใจไทย
5 วรวงศ์ วรปัญญา พรรคเพื่อไทย
สมุทรปราการ 1 พนิดา มงคลสวัสดิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 รัชนก สุขประเสริฐ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 พิชัย แจ้งจรรยาวงศ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 วุฒินันท์ บุญชู พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 นิตยา มีศรี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
6 วีรภัทร คันธะ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 บุญเลิศ แสงพันธุ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
8 ตรัยวรรธน์ อิ่มใจ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
สมุทรสงคราม 1 อานุภาพ ลิขิตอำนวยชัย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
สมุทรสาคร 1 ณัฐพงษ์ สุมโนธรรม พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ศิริโรจน์ ธนิกกุล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ศิรสิทธิ์ สงนุ้ย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
สระบุรี 1 สรพัช ศรีปราชญ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 อรรถพล วงษ์ประยูร พรรคเพื่อไทย
3 วัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย
4 องอาจ วงษ์ประยูร พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
สิงห์บุรี 1 โชติวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ พรรคพลังประชารัฐ
สุโขทัย 1 พรรณสิริ กุลนาถศิริ พรรคเพื่อไทย
2 ชูศักดิ์ คีรีมาศทอง พรรคเพื่อไทย
3 ประภาพร ทองปากน้ำ พรรคเพื่อไทย
4 จักรวาล ชัยวิรัตน์นุกูล พรรคเพื่อไทย
สุพรรณบุรี 1 สรชัด สุจิตต์ พรรคชาติไทยพัฒนา
2 ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ พรรคชาติไทยพัฒนา
3 นพดล มาตรศรี พรรคชาติไทยพัฒนา
4 เสมอกัน เที่ยงธรรม พรรคชาติไทยพัฒนา
5 ประภัตร โพธสุธน พรรคชาติไทยพัฒนา
อ่างทอง 1 ภราดร ปริศนานันทกุล พรรคภูมิใจไทย
2 กรวีร์ ปริศนานันทกุล พรรคภูมิใจไทย
อุทัยธานี 1 เจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ พรรคภูมิใจไทย
2 ชาดา ไทยเศรษฐ์ พรรคภูมิใจไทย

ภาคเหนือ

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
เชียงราย 1 ชิตวัน ชินอนุวัฒน์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช พรรคเพื่อไทย
3 ฐากูร ยะแสง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
5 เทอดชาติ ชัยพงษ์ พรรคเพื่อไทย
6 จุฬาลักษณ์ ขันสุธรรม พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน พรรคเพื่อไทย
เชียงใหม่ 1 เพชรรัตน์ ใหม่ชมภู พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 การณิก จันทดา พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ณัฐพล โตวิจักษณ์ชัยกุล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 พุธิตา ชัยอนันต์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
6 ว่าที่ร้อยตรีหญิง อรพรรณ จันตาเรือง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 สมดุลย์ อุตเจริญ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
8 ภัทรพงษ์ ลีลาภัทร์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
9 นเรศ ธำรงค์ทิพยคุณ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
10 ศรีโสภา โกฏคำลือ พรรคเพื่อไทย
น่าน 1 ทรงยศ รามสูต พรรคเพื่อไทย
2 ชลน่าน ศรีแก้ว พรรคเพื่อไทย
3 ณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ พรรคเพื่อไทย
พะเยา 1 ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
2 อนุรัตน์ ตันบรรจง พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3 จีรเดช ศรีวิราช พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
แพร่ 1 ทศพร เสรีรักษ์ พรรคเพื่อไทย
2 นิยม วิวรรธนดิฐกุล พรรคเพื่อไทย
3 วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล พรรคเพื่อไทย
แม่ฮ่องสอน 1 ปกรณ์ จีนาคำ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
2 สมบัติ ยะสินธุ์ พรรคประชาธิปัตย์
ลำปาง 1 ทิพา ปวีณาเสถียร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ธนาธร โล่ห์สุนทร พรรคเพื่อไทย
3 ชลธานี เชื้อน้อย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 รภัสสรณ์ นิยะโมสถ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ลำพูน 1 วิทวิสิทธิ์ ปันสวนปลูก พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 รังสรรค์ มณีรัตน์ พรรคเพื่อไทย
อุตรดิตถ์ 1 กฤษณา สีหลักษณ์ พรรคเพื่อไทย
2 วารุจ ศิริวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
3 รวี เล็กอุทัย พรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ 1 วิรัช พิมพะนิตย์ พรรคเพื่อไทย
2 พลากร พิมพะนิตย์ พรรคเพื่อไทย
3 จำลอง ภูนวนทา พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
4 ประภา เฮงไพบูลย์ พรรคภูมิใจไทย
5 ทินพล ศรีธเรศ พรรคเพื่อไทย
6 ประเสริฐ บุญเรือง พรรคเพื่อไทย
ขอนแก่น 1 วีรนันท์ ฮวดศรี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 อิทธิพล ชลธราศิริ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ชัชวาล อภิรักษ์มั่นคง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 เอกราช ช่างเหลา พรรคภูมิใจไทย
5 ภาควัต ศรีสุรพล พรรคเพื่อไทย
6 สิงหภณ ดีนาง พรรคเพื่อไทย
7 สุรพจน์ เตาะเจริญสุข พรรคเพื่อไทย
8 วิภาณี ภูคำวงศ์ พรรคเพื่อไทย
9 สรัสนันท์ อรรณนพพร พรรคเพื่อไทย
10 วันนิวัติ สมบูรณ์ พรรคเพื่อไทย
11 องอาจ ฉัตรชัยพลรัตน์ พรรคภูมิใจไทย
ชัยภูมิ 1 โอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย พรรคเพื่อไทย
2 เชิงชาย ชาลีรินทร์ พรรคเพื่อไทย
3 สัมฤทธิ์ แทนทรัพย์ พรรคภูมิใจไทย
4 กาญจนา จังหวะ พรรคพลังประชารัฐ
5 ศิวะ พงศ์ธีระดุลย์ พรรคเพื่อไทย
6 เชวงศักดิ์ เร่งไพบูลย์วงษ์ พรรคภูมิใจไทย
7 อัครแสนคีรี โล่ห์วีระ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
นครพนม 1 ภูมิพัฒน์ พชรทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
2 มนพร เจริญศรี พรรคเพื่อไทย
3 อลงกต มณีกาศ พรรคภูมิใจไทย
4 ชูกัน กุลวงษา พรรคภูมิใจไทย
นครราชสีมา 1 ฉัตร สุภัทรวณิชย์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ปิยชาติ รุจิพรวศิน พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ศุทธสิทธิ์ พจน์ฐศักดิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 ณัฐจิรา อิ่มวิเศษ พรรคเพื่อไทย
5 สมเกียรติ ตันดิลกตระกูล พรรคเพื่อไทย
6 โกศล ปัทมะ พรรคเพื่อไทย
7 ปิยะนุช ยินดีสุข พรรคเพื่อไทย
8 นิกร โสมกลาง พรรคเพื่อไทย
9 พลพีร์ สุวรรณฉวี พรรคภูมิใจไทย
10 อภิชา เลิศพชรกมล พรรคเพื่อไทย
11 อาทิตย์ หวังศุภกิจโกศล พรรคเพื่อไทย
12 นรเสฎฐ์ ศิริโรจนกุล พรรคเพื่อไทย
13 พชร จันทรรวงทอง พรรคเพื่อไทย
14 ศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ พรรคเพื่อไทย
15 รชตะ ด่านกุล พรรคเพื่อไทย
16 พรเทพ ศิริโรจนกุล พรรคเพื่อไทย
บึงกาฬ 1 สยาม เพ็งทอง พรรคภูมิใจไทย
2 สุวรรณา กุมภิโร พรรคภูมิใจไทย อยู่ในระหว่างถูกสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่โดยศาลฎีกา[69]
3 นิพนธ์ คนขยัน พรรคเพื่อไทย
บุรีรัมย์ 1 สนอง เทพอักษรณรงค์ พรรคภูมิใจไทย
2 ไชยชนก ชิดชอบ พรรคภูมิใจไทย
3 อดิพงษ์ ฐิติพิทยา พรรคภูมิใจไทย
4 รังสิกร ทิมาตฤกะ พรรคภูมิใจไทย
5 โสภณ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
6 ศักดิ์ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
7 พรชัย ศรีสุริยันโยธิน พรรคภูมิใจไทย
8 ไตรเทพ งามกมล พรรคภูมิใจไทย
9 รุ่งโรจน์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
10 จักรกฤษณ์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
มหาสารคาม 1 กิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
2 ไชยวัฒนา ติณรัตน์ พรรคเพื่อไทย
3 ลัทธชัย โชคชัยวัฒนากร พรรคภูมิใจไทย
4 สรรพภัญญู ศิริไปล์ พรรคเพื่อไทย
5 จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ พรรคเพื่อไทย
6 รัฐ คลังแสง พรรคเพื่อไทย
มุกดาหาร 1 วิริยะ ทองผา พรรคพลังประชารัฐ
2 ณกร ชารีพันธ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ยโสธร 1 สุภาพร สลับศรี พรรคไทยสร้างไทย คณะกรรมการจริยธรรมพรรคไทยสร้างไทยมีมติขับออกจากพรรคในเบื้องต้น[70] แต่ยังไม่ถูกตัดชื่อออกจากระบบฐานข้อมูลของรัฐสภา[d]
2 บุญแก้ว สมวงศ์ พรรคเพื่อไทย
3 ธนพัฒน์ ศรีชนะ พรรคภูมิใจไทย
ร้อยเอ็ด 1 อนุรักษ์ จุรีมาศ พรรคชาติไทยพัฒนา
2 ฉลาด ขามช่วง พรรคเพื่อไทย
3 รัชนี พลซื่อ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
4 นรากร นาเมืองรักษ์ พรรคเพื่อไทย
5 จิราพร สินธุไพร พรรคเพื่อไทย
6 กิตติ สมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
7 ชัชวาล แพทยาไทย พรรคไทยสร้างไทย
8 ชญาภา สินธุไพร พรรคเพื่อไทย
เลย 1 เลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล พรรคเพื่อไทย
2 ศรัณย์ ทิมสุวรรณ พรรคเพื่อไทย
3 ธนยศ ทิมสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย
4 สมเจตน์ แสงเจริญรัตน์ พรรคเพื่อไทย
ศรีสะเกษ 1 ธเนศ เครือรัตน์ พรรคเพื่อไทย
2 สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ พรรคเพื่อไทย
3 ธนา กิจไพบูลย์ชัย พรรคภูมิใจไทย
4 ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ พรรคเพื่อไทย
5 อมรเทพ สมหมาย พรรคเพื่อไทย
6 วีระพล จิตสัมฤทธิ์ พรรคเพื่อไทย
7 วิลดา อินฉัตร พรรคเพื่อไทย
8 อาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ พรรคภูมิใจไทย
9 นุชนาถ จารุวงษ์เสถียร พรรคเพื่อไทย
สกลนคร 1 อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย พรรคเพื่อไทย
2 ชาตรี หล้าพรหม พรรคประชาธิปัตย์
3 จิรัชยา สัพโส พรรคเพื่อไทย
4 พัฒนา สัพโส พรรคเพื่อไทย
5 ชัยมงคล ไชยรบ พรรคพลังประชารัฐ
6 สกุณา สาระนันท์ พรรคเพื่อไทย
7 เกษม อุประ พรรคเพื่อไทย
สุรินทร์ 1 ปกรณ์ มุ่งเจริญพร พรรคภูมิใจไทย
2 ชูชัย มุ่งเจริญพร พรรคเพื่อไทย
3 ผกามาศ เจริญพันธ์ พรรคภูมิใจไทย
4 พรเทพ พูนศรีธนากูล พรรคเพื่อไทย
5 ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม พรรคเพื่อไทย
6 ล้ำเลิศ พัวพัฒนโชติ พรรคภูมิใจไทย
7 เรืองวิทย์ คูณวัฒนาพงษ์ พรรคภูมิใจไทย
8 ปทิดา ตันติรัตนานนท์ พรรคภูมิใจไทย
หนองคาย 1 กระแสร์ ตระกูลพรพงศ์ พรรคพลังประชารัฐ
2 ชนก จันทาทอง พรรคเพื่อไทย
3 เอกธนัช อินทร์รอด พรรคเพื่อไทย
หนองบัวลำภู 1 สยาม หัตถสงเคราะห์ พรรคเพื่อไทย
2 ไชยา พรหมา พรรคเพื่อไทย
3 ณพล เชยคำแหง พรรคเพื่อไทย
อุดรธานี 1 ณัฐพงษ์ พิพัฒน์ไชยศิริ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 หทัยรัตน์ เพชรพนมพร พรรคเพื่อไทย
3 หรั่ง ธุระพล พรรคไทยสร้างไทย
4 ภาณุ พรวัฒนา พรรคเพื่อไทย
5 กรวีร์ สาราคำ พรรคเพื่อไทย
6 อดิศักดิ์ แก้วมุงคุณทรัพย์ พรรคไทยสร้างไทย
7 ธีระชัย แสนแก้ว พรรคเพื่อไทย
8 เกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม พรรคเพื่อไทย
9 วัชระพล ขาวขำ พรรคเพื่อไทย
10 เทียบจุฑา ขาวขำ พรรคเพื่อไทย
อุบลราชธานี 1 วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ พรรคเพื่อไทย
2 วุฒิพงษ์ นามบุตร พรรคประชาธิปัตย์
3 พิมพกาญจน์ พลสมัคร พรรคไทรวมพลัง
4 กิตติ์ธัญญา วาจาดี พรรคเพื่อไทย
5 สุทธิชัย จรูญเนตร พรรคภูมิใจไทย
6 ธัญธารีย์ สันตพันธุ์ พรรคเพื่อไทย
7 สุดารัตน์ พิทักษ์พรพัลลภ พรรคเพื่อไทย
8 บุณย์ธิดา สมชัย พรรคภูมิใจไทย
9 รำพูล ตันติวณิชชานนท์ พรรคไทยสร้างไทย
10 สมศักดิ์ บุญประชม พรรคไทรวมพลัง
11 ตวงทิพย์ จินตะเวช พรรคภูมิใจไทย
อำนาจเจริญ 1 สุขสมรวย วันทนียกุล พรรคภูมิใจไทย
2 ญาณีนาถ เข็มนาค พรรคภูมิใจไทย

ภาคใต้

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กระบี่ 1 กิตติ กิตติธรกุล พรรคภูมิใจไทย
2 ถิรเดช ตั้งมั่นก่อกิจ พรรคภูมิใจไทย
3 สฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง พรรคภูมิใจไทย
ชุมพร 1 วิชัย สุดสวาสดิ์ พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 สันต์ แซ่ตั้ง พรรครวมไทยสร้างชาติ
3 สุพล จุลใส พรรครวมไทยสร้างชาติ
ตรัง 1 ถนอมพงษ์ หลีกภัย พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 ทวี สุระบาล พรรคพลังประชารัฐ
3 สุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
4 กาญจน์ ตั้งปอง พรรคประชาธิปัตย์
นครศรีธรรมราช 1 ราชิต สุดพุ่ม พรรคประชาธิปัตย์
2 ทรงศักดิ์ มุสิกอง พรรคประชาธิปัตย์
3 พิทักษ์เดช เดชเดโช พรรคประชาธิปัตย์
4 ว่าที่ร้อยโท ยุทธการ รัตนมาศ พรรคประชาธิปัตย์
5 ชัยชนะ เดชเดโช พรรคประชาธิปัตย์
6 สุธรรม จริตงาม พรรคพลังประชารัฐ
7 ษฐา ขาวขำ พรรคภูมิใจไทย
8 มุกดาวรรณ เลื่องสีนิล พรรคภูมิใจไทย อยู่ในระหว่างถูกสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่โดยศาลฎีกา[71]
9 อวยพรศรี เชาวลิต พรรคประชาธิปัตย์
10 พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล พรรครวมไทยสร้างชาติ
นราธิวาส 1 วัชระ ยาวอหะซัน พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 อามินทร์ มะยูโซ๊ะ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3 สัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
4 ซาการียา สะอิ พรรคภูมิใจไทย
5 กมลศักดิ์ ลีวาเมาะ พรรคประชาชาติ
ปัตตานี 1 วรวิทย์ บารู พรรคประชาชาติ
2 คอซีย์ มามุ พรรคพลังประชารัฐ
3 สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ พรรคประชาชาติ
4 ยูนัยดี วาบา พรรคประชาธิปัตย์
5 สาเหะมูหามัด อัลอิดรุส พรรคประชาชาติ
พังงา 1 อรรถพล ไตรศรี พรรคภูมิใจไทย
2 ฉกาจ พัฒนกิจวิบูลย์ พรรคพลังประชารัฐ
พัทลุง 1 สุพัชรี ธรรมเพชร พรรคประชาธิปัตย์
2 นิติศักดิ์ ธรรมเพชร พรรครวมไทยสร้างชาติ
3 ร่มธรรม ขำนุรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ภูเก็ต 1 ว่าที่ร้อยตรี สมชาติ เตชถาวรเจริญ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 เฉลิมพงศ์ แสงดี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ฐิติกันต์ ฐิติพฤฒิกุล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ยะลา 1 สุไลมาน บือแนปีแน พรรคประชาชาติ
2 ซูการ์โน มะทา พรรคประชาชาติ
3 อับดุลอายี สาแม็ง พรรคประชาชาติ
ระนอง 1 คงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์ พรรคภูมิใจไทย
สงขลา 1 สรรเพชญ บุญญามณี พรรคประชาธิปัตย์
2 ศาสตรา ศรีปาน พรรครวมไทยสร้างชาติ
3 สมยศ พลายด้วง พรรคประชาธิปัตย์
4 ชนนพัฒฐ์ นาคสั้ว พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
5 เดชอิศม์ ขาวทอง พรรคประชาธิปัตย์
6 สุภาพร กำเนิดผล พรรคประชาธิปัตย์
7 ณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ พรรคภูมิใจไทย
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่ พรรคประชาธิปัตย์
9 ศักดิ์สิทธิ์ ขาวทอง พรรคประชาธิปัตย์
สตูล 1 พิบูลย์ รัชกิจประการ พรรคภูมิใจไทย
2 วรศิษฎ์ เลียงประสิทธิ์ พรรคภูมิใจไทย
สุราษฎร์ธานี 1 กานสินี โอภาสรังสรรค์ พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 พิพิธ รัตนรักษ์ พรรครวมไทยสร้างชาติ
3 วชิราภรณ์ กาญจนะ พรรครวมไทยสร้างชาติ
4 พันธ์ศักดิ์ บุญแทน พรรครวมไทยสร้างชาติ
5 ปรเมษฐ์ จินา พรรครวมไทยสร้างชาติ
6 พิชัย ชมภูพล พรรคภูมิใจไทย
7 ธานินท์ นวลวัฒน์ พรรครวมไทยสร้างชาติ

ภาคตะวันออก

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
จันทบุรี 1 วรายุทธ ทองสุข พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 ปรัชญาวรรณ ไชยสืบ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ญาณธิชา บัวเผื่อน พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ฉะเชิงเทรา 1 ฐิติมา ฉายแสง พรรคเพื่อไทย
2 อรรถกร ศิริลัทธยากร พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3 ศักดิ์ชาย ตันเจริญ พรรคเพื่อไทย
4 จิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ชลบุรี 1 วรท ศิริรักษ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 วรรณิดา นพสิทธิ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ชวาล พลเมืองดี พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 จิรวุฒิ สิงห์โตทอง พรรครวมไทยสร้างชาติ
5 อนันต์ ปรีดาสุทธิจิตต์ พรรคเพื่อไทย
6 กฤษฏิ์ ชีวะธรรมานนท์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
7 สหัสวัต คุ้มคง พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
8 จรัส คุ้มไข่น้ำ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
9 ยอดชาย พึ่งพร พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
10 สะถิระ เผือกประพันธุ์ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
ตราด 1 ศักดินัย นุ่มหนู พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
ปราจีนบุรี 1 อำนาจ วิลาวัลย์ พรรคภูมิใจไทย
2 วุฒิพงศ์ ทองเหลา พรรคชาติพัฒนา เดิมสังกัดพรรคก้าวไกล แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[72]
3 สฤษดิ์ บุตรเนียร พรรคภูมิใจไทย
ระยอง 1 กมนทรรศน์ กิตติสุนทรสกุล พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 กฤช ศิลปชัย พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 นครชัย ขุนณรงค์ พรรคก้าวไกล ลาออก 3 สิงหาคม 2566[73]
พงศธร ศรเพชรนรินทร์ พรรคประชาชน เลือกตั้งซ่อม // ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
4 ชุติพงศ์ พิภพภิญโญ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
5 สว่างจิตต์ เลาหะโรจนพันธ์ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
สระแก้ว 1 ขวัญเรือน เทียนทอง พรรคพลังประชารัฐ
2 ตรีนุช เทียนทอง พรรคพลังประชารัฐ
3 สรวงศ์ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันตก

มีรายชื่อดังต่อไปนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาญจนบุรี 1 อัครนันท์ กัณณ์กิตตินันท์ พรรคเพื่อไทย
2 ชูศักดิ์ แม้นทิม พรรคเพื่อไทย
3 ยศวัฒน์ มาไพศาลสิน พรรคภูมิใจไทย
4 ศักดิ์ดา วิเชียรศิลป์ พรรคเพื่อไทย
5 พนม โพธิ์แก้ว พรรคเพื่อไทย
ตาก 1 คริษฐ์ ปานเนียม พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
2 รัชต์พงศ์ สร้อยสุวรรณ พรรคประชาชน ย้ายมาจากพรรคก้าวไกล
3 ภาคภูมิ บูลย์ประมุข พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
ประจวบคีรีขันธ์ 1 สังคม แดงโชติ พรรคภูมิใจไทย
2 จักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์ พรรคประชาธิปัตย์
3 ประมวล พงศ์ถาวราเดช พรรคประชาธิปัตย์
เพชรบุรี 1 ธิวัลรัตน์ อังกินันทน์ พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 ฤกษ์ อยู่ดี พรรคภูมิใจไทย
3 จ่าอากาศเอก อภิชาติ แก้วโกศล พรรครวมไทยสร้างชาติ
ราชบุรี 1 กุลวลี นพอมรบดี พรรครวมไทยสร้างชาติ
2 บุญยิ่ง นิติกาญจนา พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3 จตุพร กมลพันธ์ทิพย์ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
4 อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ พรรครวมไทยสร้างชาติ
5 ชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์ พรรคกล้าธรรม เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค

การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

วันที่ เหตุการณ์ ก.ก. ปชน. พท. ภจท. พป
ชร.
รท
สช.
ปชป. กธ. ชทพ. ปช. ทสท. ชพน. ทรพ. ปธ. พรรค
เล็ก[e]
ไม่สังกัด
พรรค
รวม ว่าง
14 พฤษภาคม 2566 เลือกตั้งทั่วไป 151 141 71 40 36 25 10 9 6 2 2 1 6 - 500 -
เปิดสมัยประชุมสภาครั้งที่ 1
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (เศรษฐา ทวีสิน)
28 กันยายน 2566 รองประธานสภาคนที่ 1 ถูกขับออก
จากพรรคก้าวไกล
150 141 71 40 36 25 10 9 6 2 2 1 6 1 500 -
10 ตุลาคม 2566 รองประธานสภาคนที่ 1 เข้าสังกัดพรรค 150 141 71 40 36 25 10 9 6 2 2 2 6 - 500 -
1 พฤศจิกายน 2566 สส. ถูกขับออกจากพรรคก้าวไกล 149 141 71 40 36 25 10 9 6 2 2 2 6 1 500 -
7 พฤศจิกายน 2566 148 141 71 40 36 25 10 9 6 2 2 2 6 2 500 -
29 พฤศจิกายน 2566 สส. ที่ถูกขับออกจากพรรคเข้าสังกัดพรรค 148 141 71 40 36 25 10 9 6 3 2 2 7 - 500 -
7 สิงหาคม 2567 พรรคก้าวไกลถูกยุบพรรค
และกรรมการบริหารพรรคถูกตัดสิทธิ์
- 141 71 40 36 25 10 9 6 3 2 1 7 143 494 6
9 สิงหาคม 2567 อดีต สส.พรรคก้าวไกล
เข้าสังกัดพรรคประชาชน
143 141 71 40 36 25 10 9 6 3 2 1 7 - 494 6
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (แพทองธาร ชินวัตร)
15 กันยายน 2567 เลือกตั้งซ่อมพิษณุโลก เขต 1 143 142 71 40 36 25 10 9 6 3 2 1 7 - 495 5
10 ตุลาคม 2567 สส.พรรคเล็ก[f] ย้ายเข้าพรรคกล้าธรรม 143 142 71 40 36 25 2 10 9 6 3 2 1 5 - 495 5
15 ตุลาคม 2567 143 142 71 40 36 25 3 10 9 6 3 2 1 4 - 495 5
21 ตุลาคม 2567 143 142 71 40 36 25 4 10 9 6 3 2 1 3 - 495 5
11 ธันวาคม 2567 สส. ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ 143 142 71 20 36 25 4 10 9 6 3 2 1 3 20 495 5
18 ธันวาคม 2567 สส. ที่ถูกขับออกจากพรรคเข้าสังกัดพรรค 143 142 71 20 36 25 24 10 9 6 3 2 1 3 - 495 5

การเลือกตั้งซ่อม

ประชากรศาสตร์

สมาชิกที่มีอายุมากที่สุด คือ พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย อายุ 90 ปี[74]

สมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุดมีอายุ 27 ปีจำนวน 4 คน ดังรายชื่อดังต่อไปนี้

สมาชิกเป็นเพศชาย 402 คน เพศหญิง 93 คน และผู้มีความหลากหลายทางเพศ 4 คน[78] และมีสมาชิก 268 คนที่ได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก

ผู้ดำรงตำแหน่ง

การลงมติเลือกผู้ดำรงตำแหน่ง

ตำแหน่ง ชื่อ พรรค คะแนนเสียง
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ปดิพัทธ์ สันติภาดา ก้าวไกล 312
วิทยา แก้วภราดัย รวมไทยสร้างชาติ 105
งดออกเสียง
77
บัตรเสีย
2
รวม
496

คณะกรรมาธิการ

คณะกรรมาธิการสามัญ

ชื่อคณะกรรมาธิการ ประธานคณะกรรมาธิการ พรรค
คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน กมลศักดิ์ ลีวาเมาะ ประชาชาติ
คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร ประเสริฐ บุญเรือง เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สัญญา นิลสุพรรณ รวมไทยสร้างชาติ
คณะกรรมาธิการกีฬา ปริญญา ฤกษ์หร่าย พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์และผู้มีความหลากหลายทางเพศ พาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์ ชาติไทยพัฒนา
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ ความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ[g] สัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ กล้าธรรม
คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ ศักดินัย นุ่มหนู ประชาชน
คณะกรรมาธิการการคมนาคม ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ รังสิมันต์ โรม ประชาชน
คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค บุญยิ่ง นิติกาญจนา กล้าธรรม
คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคาร สถาบันการเงินและตลาดการเงิน ณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ นพดล ปัทมะ
สรัสนันท์ อรรณนพพร
เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการตำรวจ ชัยชนะ เดชเดโช ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ
สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ
ประชาชน
คณะกรรมาธิการการทหาร วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ประชาชน
คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว เอกธนัช อินทร์รอด เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อภิชาติ ศิริสุนทร
พูนศักดิ์ จันทร์จำปี
ประชาชน
คณะกรรมาธิการการปกครอง กรวีร์ ปริศนานันทกุล ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนท้องถิ่นและการบริหารราชการรูปแบบพิเศษ มัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด เลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย ปกรณ์ มุ่งเจริญพร ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ ชูศักดิ์ ศิรินิลฉลาด ขามช่วง เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการพลังงาน วชิราภรณ์ กาญจนะ รวมไทยสร้างชาติ
คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน พริษฐ์ วัชรสินธุ ประชาชน
คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล ประชาชน
คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา ประมวล พงศ์ถาวราเดช ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม[h] ฐากร ตัณฑสิทธิ์
วาโย อัศวรุ่งเรือง
ประชาชน[i]
คณะกรรมาธิการการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ[j] จักรัตน์ พั้วช่วย พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม เทียบจุฑา ขาวขำ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการศึกษา โสภณ ซารัมย์ ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ ประชาชน
คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข ทศพร เสรีรักษ์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์
สยาม หัตถสงเคราะห์
เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ รวมไทยสร้างชาติ

คณะกรรมาธิการวิสามัญ

ชื่อคณะกรรมาธิการ ประธานคณะกรรมาธิการ พรรค
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งอันเนื่องจากปรากฎการณ์เอลนิโญ่ (El Nino) ศักดิ์ดา วิเชียรศิลป์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษากฎหมายและมาตรการควบคุมกำกับบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย นิยม วิวรรธนดิฐกุล เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาสถานบันเทิง และปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการเรียกรับผลประโยชน์จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ขัตติยา สวัสดิผล เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่...) พ.ศ. .... อรรถกร ศิริลัทธยากร พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษา และเสนอแนวทางการส่งเสริมกระบวนการสร้างสันติภาพเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จาตุรนต์ ฉายแสง เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาและเสนอแนะการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการประมงทั้งระบบให้เกิดความเหมาะสมและเป็นธรรมกับผู้ประกอบการประมงและกิจการต่อเนื่อง และสอดรับกับพันธกรณีระหว่างประเทศ ปลอดประสพ สุรัสวดี เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน (โครงการแลนด์บริดจ์) วิสุทธิ์ ไชยณรุณ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการเปิดสถานบันเทิงแบบครบวงจร (Entertainment Complex) เพื่อแก้ปัญหาบ่อนพนันผิดกฎหมายและเพื่อประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของประเทศ จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สภาผู้แทนราษฎร ภูมิธรรม เวชยชัย คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางในการควบคุมและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต สยาม หัตถสงเคราะห์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการถ่ายโอนธุรกิจของกองทัพไปอยู่ในความดูแลของหน่วยงานอื่นหรือย้ายไปสถานที่อื่นที่เหมาะสม จิรายุ ห่วงทรัพย์ คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ชูศักดิ์ ศิรินิล เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือตอนล่าง 1 และเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor : NEC - Creative LANNA) พรรณสิริ กุลนาถศิริ คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาติดตามผลการดำเนินงานและศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาช้างป่าอย่างยั่งยืน รวมทั้งมาตรการเยียวยาความเสียหายให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ศักดิ์ชาย ตันเจริญ คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 สภาผู้แทนราษฎร พิชัย ชุณหวชิร คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 พ.ศ. .... สภาผู้แทนราษฎร พิชัย ชุณหวชิร คณะรัฐมนตรี

เชิงอรรถ

  1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 100 ระบุว่า "สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง"
  2. ศาลฎีกาสั่งให้ มุกดาวรรณ เลื่องสีนิล หยุดปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2567[4]
  3. ศาลฎีกาสั่งให้ สุวรรณา กุมภิโร หยุดปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 18 กันยายน พ.ศ. 2567[5]
  4. ตามข้อมูลจากเว็ปไซต์ของรัฐสภา ยังมีรายชื่อเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรจากพรรคไทยสร้างไทย
  5. พรรคเสรีรวมไทย, พรรคประชาธิปไตยใหม่, พรรคใหม่, พรรคท้องที่ไทย, พรรคพลังสังคมใหม่, และพรรคครูไทยเพื่อประชาชน (ต่อมาเพิ่มพรรคไทยก้าวหน้า)
  6. ถูกขับไล่จากพรรคใหม่, พรรคท้องที่ไทย, พรรคพลังสังคมใหม่, และพรรคครูไทยเพื่อประชาชน
  7. เดิมชื่อคณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ
  8. เดิมชื่อคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
  9. เดิมเป็นโควตาของพรรคก้าวไกล แต่ได้มอบให้กับพรรคไทยสร้างไทยเป็นระยะเวลาหนึ่งก่อนจะส่งคืนให้กับพรรคประชาชน
  10. เดิมชื่อคณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาราคาผลิตผลเกษตรกรรม

ฉายารัฐสภา (เฉพาะสภาผู้แทนราษฎร)

ตำแหน่ง พ.ศ. 2566[79] พ.ศ. 2567[80]
ดาวเด่น ไม่มีผู้ใดเหมาะสม
ดาวดับ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ประวิตร วงษ์สุวรรณ
ธิษะณา ชุณหะวัณ
ฉายาสภาผู้แทนราษฎร สภาลวงละคร เหลี่ยม(จน)ชิน
ประธานสภาผู้แทนราษฎร (วัน) นอ-มินี รูทีนตีนตุ๊กแก
ผู้นำฝ่ายค้าน งดตั้งฉายา เท้งเต้ง
(ชัยธวัช ตุลาธน ได้รับการแต่งตั้งในภายหลัง) (ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ ดำรงตำแหน่ง)
เหตุการณ์แห่งปี การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี พรรคเพื่อไทยเทียบเชิญพรรคประชาธิปัตย์เข้าร่วมรัฐบาล
คู่กัดแห่งปี ไม่มีผู้ใดเหมาะสม พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
และ
ชลน่าน ศรีแก้ว
วาทะแห่งปี "ถ้าไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับนี้ พรรคเพื่อไทยไม่มีทาง
จับมือกับพรรคก้าวไกลจัดตั้งรัฐบาล"
(ชลน่าน ศรีแก้ว)
"ทำให้คนไทย มีกิน มีใช้ มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี"
(แพทองธาร ชินวัตร)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ด่วน! กกต.ประกาศรับรอง 500 ส.ส.แล้ว
  2. "เช็กผลคะแนนเลือกตั้ง 66 เรียลไทม์ | Thai PBS เลือกตั้ง #66 เลือกอนาคตประเทศไทย". Thai PBS. สืบค้นเมื่อ 11 October 2023.
  3. "สภาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 26". hris.parliament.go.th. สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นเมื่อ 26 November 2023.
  4. "วันนอร์ แจ้ง 'ศาลฎีกา' สั่ง 'มุกดาวรรณ' หยุดปฏิบัติหน้าที่ ทำสภาฯ เหลือสมาชิก 499 คน". matichon.co.th.
  5. "'พิเชษฐ์' แจ้ง สส.บึงกาฬ ภท. หยุดปฏิบัติหน้าที่ เหลือสส.ในสภา 492 คน".
  6. "เปิดชื่อ 71 ว่าที่ ส.ส. กกต.จ่อแขวน เหตุร้องคัดค้าน". Thai PBS.
  7. "ผลเลือกตั้ง 2566 : กกต. ประกาศรับรอง ส.ส. ครบทั้งสภา 500 คน". BBC News ไทย. 2023-06-19.
  8. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
  9. "รายงานผลการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ.2566 อย่างเป็นทางการ". official.ectreport.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-05-29. สืบค้นเมื่อ 2023-07-17.
  10. "หมายกําหนดการ ในหลวง และ พระราชินี เสด็จฯ ทรงเปิดประชุมรัฐสภา 3 ก.ค. 2566". thansettakij. 2023-06-27.
  11. บันทึกพิธีเปิดประชุมรัฐสภา วันจันทร์ที่ ๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖ ณ ห้องโถงพิธี ชั้น ๑๑ อาคารรัฐสภา
  12. "มติเอกฉันท์ "วันนอร์" นั่งประธานสภาผู้แทนราษฎร". ไทยพีบีเอส. 2023-07-04. สืบค้นเมื่อ 2023-07-04.
  13. ""หมออ๋อง" ปดิพัทธ์ ชนะ "วิทยา" คว้าเก้าอี้ รองประธานสภา คนที่ 1 (คลิป)". ไทยรัฐ. 2023-07-04. สืบค้นเมื่อ 2023-07-04.
  14. บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๖ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ ๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมสภาผู้แทนราษฎร อาคารรัฐสภา
  15. บันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๖ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ ๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖
  16. "พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน เพื่อไทย นั่งรอง 2 ประธานสภาฯ สุดชิลล์ไร้คู่แข่ง". www.sanook.com/news. 2023-07-04.
  17. ด่วน โหวตนายกฯ “พิธา ลิ้มเจริญรัตน์” ไม่ผ่านในครั้งแรก จ่อเสนอชื่อรอบ 2
  18. บันทึกการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันพฤหัสบดีที่ ๑๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมสภาผู้แทนราษฎร อาคารรัฐสภา
  19. บันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกรัฐสภา ในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันพฤหัสบดีที่ ๑๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖
  20. "ด่วน ศาลรัฐธรรมนูญ รับคำร้องหุ้นสื่อ "พิธา" พร้อมสั่งหยุดปฏิบัติหน้าที่ ส.ส. ทันที". ไทยรัฐ. 2023-07-19. สืบค้นเมื่อ 2023-07-19.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  21. "โหวตนายก : รัฐสภาลงมติเป็นญัตติต้องห้าม! ปิดทางเสนอชื่อ "พิธา" โหวตนายกฯ". พีพีทีวี. 2023-07-19. สืบค้นเมื่อ 2023-07-19.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  22. "ศาลรัฐธรรมนูญเลื่อนพิจารณาคำร้องปมเสนอชื่อ "พิธา" โหวตนายกฯซ้ำ". pptvhd36.com. 2023-08-03.
  23. "รัฐสภาถก ปิดสวิตช์ สว. รัฐธรรมนูญ มาตรา 272 คืออะไร ทำไมต้องแก้". Thai PBS.
  24. "ประชุมสภา: "วันนอร์" สั่งปิดประชุมก่อนเริ่มถก "ปิดสวิตช์ สว." เหตุเถียงหนัก ปม "เสนอชื่อพิธาซ้ำ" ไม่ได้". BBC News ไทย. 2023-08-04.
  25. ด่วน!‘เพื่อไทย’นำแถลงจัดตั้งรัฐบาล 11 พรรค 314 เสียง แบ่งเก้าอี้ ครม.เสร็จสรรพ
  26. โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง 'เศรษฐา ทวีสิน' เป็นนายกฯ คนที่ 30 แล้ว
  27. "'ชัยธวัช' รับทราบพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ผู้นำฝ่ายค้าน จัดพิธีรับพระบรมราชโองการ 20 ธ.ค." มติชน. 18 ธันวาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2023.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  28. "พรรคประชาชน: "เท้ง" ณัฐพงษ์ นำทีม สส. ก้าวไกล ย้ายเข้าพรรคใหม่". BBC News ไทย. 2024-08-09.
  29. ""เศรษฐา" ไม่รอด ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยขาดคุณสมบัติ ไม่ให้ทำหน้าที่นายกฯ ต่อ". 2024-08-14.
  30. "ด่วน! สภา โหวต "แพทองธาร ชินวัตร" เป็นนายกฯ คนที่ 31 แล้ว ต่อจาก "เศรษฐา"ต่อ". 2024-08-16.
  31. แพทองธาร ชินวัตร รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ เป็นนายกฯ คนที่ 31
  32. ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๑ ตอนพิเศษ ๒๒๔ ง หน้า ๑ วันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
  33. Thailand, BECi Corporation Ltd. "พปชร. ขับ 20 สส. กลุ่มธรรมนัส พ้นพรรค เผยเตรียมย้ายซบ 'กล้าธรรม'". CH3Plus.com.
  34. "ประเสริฐ"เปิดใจลาออกสส.บัญชีรายชื่อ เปิดทางคนรุ่นใหม่ดันงานสภาฯ
  35. 35.0 35.1 "'ชัยเกษม-สงคราม' ลาออก สส. เลื่อน 'ศรีญาดา-เพ็ญชิสา' ขึ้นแทน ชัยเกษมเผย เตรียมมองหาบทบาทใหม่". THE STANDARD. 2023-10-06.
  36. "ราชกิจจาฯ ประกาศ 'ละออง-ณณัฏฐ์' ขยับขึ้นเป็น สส. ปาร์ตี้ลิสต์ เพื่อไทย แทนสมศักดิ์-ประเสริฐ". THE STANDARD. 2024-01-17.
  37. ""ก่อแก้ว" เลื่อนบัญชีเป็น สส.ใหม่-"สรวงศ์" ยัน พท.ไม่กดดันอีก 2 รมต.ให้ลาออก". www.thairath.co.th. 2024-08-03.
  38. "'พท.' เผย 'พิศาล' ลาออก สส. แล้ว หลังโดนหมายจับคดีสลายชุมนุมตากใบออก". www.bangkokbiznews.com. 2024-10-15.
  39. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวศรีญาดา ปาลิมาพันธ์ พรรคเพื่อไทย)
  40. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวเพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย พรรคเพื่อไทย)
  41. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวละออง ติยะไพรัช พรรคเพื่อไทย)
  42. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายณณัฏฐ์ หงษ์ชูเวช พรรคเพื่อไทย)
  43. ""ณณัฏฐ์ หงษ์ชูเวช" ยื่นลาออกพ้น สส.เพื่อไทย". Thai PBS.
  44. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชนินทร์ รุ่งธนเกียรติ พรรคเพื่อไทย)
  45. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายเชิดชัย ตันติศิรินทร์ พรรคเพื่อไทย)
  46. "ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายก่อแก้ว พิกุลทอง พรรคเพื่อไทย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  47. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายขจิตร ชัยนิคม พรรคเพื่อไทย)"
  48. 48.0 48.1 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายอนุชา บูรพชัยศรี พรรครวมไทยสร้างชาติ)
  49. "พีระพันธุ์ ลาออก ส.ส.รวมไทยสร้างชาติ ขอทำหน้าที่เลขาธิการนายกฯ". ประชาชาติธุรกิจ. 2023-06-30. สืบค้นเมื่อ 2023-06-30.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  50. 'สุพัฒนพงษ์' ไขก๊อกสส.รทสช. 'แม่เลี้ยงติ๊ก' ขยับนั่งแทน
  51. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู พรรครวมไทยสร้างชาติ)
  52. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายเกชา ศักดิ์สมบูรณ์ พรรครวมไทยสร้างชาติ)
  53. ""ศักดิ์สยาม" ร่อนใบลาออก สส. - เลขาพรรคภูมิใจไทย เซ่นคดีหุ้น!". PPTV Online. 2024-01-17.
  54. ""ทรงศักดิ์" ไขก๊อกส.ส. ขยับ"ชลัฐ รัชกิจประการ" นั่งบัญชีรายชื่อแทน". bangkokbiznews. 2023-09-11.
  55. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชลัฐ รัชกิจประการ พรรคภูมิใจไทย)
  56. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางนันทนา สงฆ์ประชา พรรคภูมิใจไทย)
  57. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายมังกร ยนต์ตระกูล พรรคเสรีรวมไทย)
  58. ""สุดารัตน์" ลาออก ส.ส. ไทยสร้างไทย เลื่อน "ฐากร" แทน". Thai PBS.
  59. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ พรรคไทยสร้างไทย)
  60. 60.0 60.1 60.2 60.3 60.4 Nilnakorn, Phanit. "เปิดรายชื่อ กก.บห.พรรคก้าวไกล โดนตัดสิทธิการเมือง 10 ปี หลังศาลสั่งยุบพรรค". เดลินิวส์.
  61. "เลขาสภาฯ แจงลดยอด ส.ส.เหลือ 499 คน เหตุ "ณธีภัสร์" ต้องคดีเมาแล้วขับถึงที่สุด". Thai PBS.
  62. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสุเทพ อู่อ้น พรรคก้าวไกล)
  63. 63.0 63.1 "'2สส.ใหม่' พรรคกล้าธรรม รับให้พรรคเดิมขับออก ก่อนซบ 'กล้าธรรม' แค่วันเดียว". bangkokbiznews. 2024-10-10.
  64. ""บัญชา" สส.ท้องที่ไทย ย้ายซบ "พรรคกล้าธรรม" เป็นรายที่ 3 เผย ยังมีตบเท้าเข้าร่วมอีก". mgronline.com. 2024-10-15.
  65. "'ปรีดา บุญเพลิง' ครูไทยเพื่อประชาชน ย้ายซบ 'กล้าธรรม' ของนฤมล". THE STANDARD. 2024-10-21.
  66. "ด่วน! มติก้าวไกลขับ"ปูอัด"พ้นพรรค กรณีคุกคามทางเพศ". mgronline.com. 2023-11-07.
  67. "ด่วน! 'ก้าวไกล' ขับ 'ปดิพัทธ์' ออกจากสมาชิกพรรค ลุยงานฝ่ายค้านเต็มที่". bangkokbiznews. 2023-09-28.
  68. Nilnakorn, Phanit. "ด่วน! ศาลรัฐธรรมนูญ สั่งยุบพรรคก้าวไกล หาเสียงแก้ม.112 ล้มล้างการปกครอง". เดลินิวส์.
  69. "สภาเหลือ สส.ปฏิบัติหน้าที่ 492 คน หลัง สส.บึงกาฬ พรรคภูมิใจไทย โดนพักงาน..." 2024-09-18.
  70. ""ไทยสร้างไทย"ขับงูเห่าตัวแรกเซ่นปมโหวตอุ๊งอิงค์นั่งนายกฯ". โพสต์ทูเดย์. 21 สิงหาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2024.
  71. Thongsak (2024-07-11). "ศาลฎีกาสั่ง สส.มุกดาวรรณหยุดปฏิบัติหน้าที่ สส".
  72. ด่วน! มติก้าวไกล ลงโทษสูงสุด ขับ ‘ส.ส.ปราจีนฯ’ พ้นพรรค ส่วน ‘ปูอัด’ ฝั่งธน เจอคาดโทษ ตัดสิทธิทั้งหมด
  73. ""นครชัย" ยื่นลาออก สส.ก้าวไกล เคยต้องโทษคดีลักทรัพย์". Thai PBS.
  74. ประวัติ "วิโรจน์ เปาอินทร์" อาวุโสสูงสุด 89 ปี ว่าที่ ประธานสภา ชั่วคราว
  75. เลือกตั้ง 2566 : ทิสรัตน์ เลาหพล พรรคก้าวไกล ‘จากห้างย่านอนุสาวรีย์ชัยฯ สู่ก้าวไกล บางแค’
  76. https://www.facebook.com/bangkokbiznews (2023-07-03). "เปิดสถิติ "ที่สุด" ของ "สภาฯชุด26"". bangkokbiznews. {{cite web}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |last= (help)
  77. รู้จัก ส.ส.อายุน้อยที่สุดในสภาฯ "สุดารัตน์" พรรคเพื่อไทย จ.อุบลฯ
  78. "เปิดสถิติ ความหลากหลายทางเพศสภาไทย 2566". workpointTODAY.
  79. "เปิดฉายาสภา 66 'สภาลวงละคร' ปธ.สภาฯ (วัน)นอ-มินี 'พิธา'คว้าดาวดับ ไร้ดาวเด่น". ข่าวสดออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2023-12-27.
  80. "ฉายา 67 สภาผู้แทนฯ'เหลี่ยม(จน)ชิน' สว.'เนวิ(น)เกเตอร์'-'บิ๊กป้อม-ธิษะณา'ดาวดับ". กรุงเทพธุรกิจ.