ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Phaisit16207/ทดลองเขียน 2

พิกัด: 48°48′17″N 2°07′13″E / 48.8048°N 2.1203°E / 48.8048; 2.1203
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

บุคคล

[แก้]

แซเลวกอสที่ 1 นิกาตอร์

[แก้]
แซเลวกอสที่ 1 นิกาตอร์
Male bust
Roman copy of a bronze statue of Seleucus found in Herculaneum. Now located at the Naples National Archaeological Museum.
บาซิเลวส์แห่งจักรวรรดิซิลูซิด
ครองราชย์305[1] – กันยายน 281 ปีก่อน ค.ศ.
ถัดไปอันติโอคอสที่ 1 โซแตร์ (เป็นผู้ปกครองร่วมตั้งแต่ 292 ปีก่อน ค.ศ.)
ประสูติประมาณ 358 ปีก่อน ค.ศ.
เอวโรปอส, มาซีดอน
สวรรคตกันยายน 281 ปีก่อน ค.ศ. (ประมาณ 77 ปี)
เธรซ
คู่อภิเษก
พระราชบุตร
ราชวงศ์ซิลูซิด
พระราชบิดาอันติโอคอส
พระราชมารดาลาโอดิกี

แซเลวกอสที่ 1 นิกาตอร์ (กรีก: Σέλευκος Νικάτωρ Séleukos Nikátōr, 'the Victorious'; ป. 358 – 281 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนายพลชาวกรีกเชื้อสายมาซิโดเนีย เป็นหนึ่งในนายทหารและในเวลาต่อมาเป็นไดแอโดไค (ผู้สืบทอด) ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช และเป็นผู้สถาปนาจักรวรรดิซิลูซิดซึ่งตั้งชื่อตามพระองค์ ในการแย่งชิงอำนาจหลังการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์ แซเลวกอสได้ก้าวจากผู้เล่นในระดับรองขึ้นสู่ผู้ปกครองเอเชียไมเนอร์ ซีเรีย เมโสโปเตเมีย และที่ราบอิหร่าน จนกระทั่งพระองค์ทรงได้รับบรรดาศักดิ์เป็นบาซิเลวส์ (พระมหากษัตริย์) จักรวรรดิซิลูซิดซึ่งเป็นรัฐที่พระองค์ทรงสถาปนาบนดินแดนดังกล่าวได้กลายมาเป็นมหาอำนาจในโลกเฮลเลนิสต์ จนกระทั่งถูกจักรวรรดิโรมันและจักรวรรดิพาร์เธียพิชิตในช่วงปลายศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. และต้นศตวรรษที่ 1 ก่อน ค.ศ.

หลังการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์ในเดือนมิถุนายน 323 ปีก่อน ค.ศ. ในขั้นแรก แซเลวกอสได้ให้การสนับสนุนแปร์ดิกกัสซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของจักรวรรดิของอเล็กซานเดอร์ และเขาก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บังคับบัญชาของกองทัพมิตรสหาย (Companions) และเป็นผู้บังคับกองพัน (Chiliarch) ในการแบ่งที่บาบิโลนใน 323 ปีก่อน ค.ศ. อย่างไรก็ตาม หลังจากเกิดสงครามไดแอโดไคใน 322 ปีก่อน ค.ศ. ความล้มเหลวทางการทหารของแปร์ดิกกัสต่อทอเลมีในอียิปต์นำไปสู่การก่อกบฎโดยทหารที่แปลูเซียม ใน 321 หรือ 320 ปีก่อน ค.ศ. แปร์ดิกกัสถูกทรยศและถูกลอบสังหาร โดยเป็นผลจากการสมรู้ร่วมคิดระหว่างแซเลวกอส ไปธอน และอันติเกเนส ในแปลูเซียม ในการแบ่งที่ตริปาราดิสอสใน 321 ปีก่อน ค.ศ. แซเลวกอสได้รับการแต่งตั้งให้เป็นข้าหลวงแห่งบาบิโลน ภายใต้อำนาจของอันติปาแตร์ ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการคนใหม่ But almost immediately, the wars between the Diadochi resumed and one of the most powerful of the Diadochi, Antigonus, forced Seleucus to flee Babylon. Seleucus was only able to return to Babylon in 312 BC with the support of Ptolemy. From 312 BC, Seleucus ruthlessly expanded his dominions and eventually conquered the Persian and Median lands. Seleucus ruled not only Babylonia, but the entire enormous eastern part of Alexander's empire.

Seleucus further made claim to the former satraps in Gandhara and in eastern India. However these ambitions were contested by Chandragupta Maurya, resulting in the Seleucid–Mauryan War (305–303 BC). The conflict was ultimately resolved by a treaty resulting in the Maurya Empire annexing the eastern satraps. Additionally, a marriage alliance was formed, with Chandragupta marrying a daughter of Seleucus, according to Strabo and Appian.[2] Furthermore, the Seleucid Empire received a considerable military force of 500 war elephants with mahouts, which would play a decisive role against Antigonus at the Battle of Ipsus in 301 BC. In 281 BC, he also defeated Lysimachus at the Battle of Corupedium, adding Asia Minor to his empire.

Seleucus' victories against Antigonus and Lysimachus left the Seleucid dynasty virtually unopposed amongst the Diadochi. However, Seleucus also hoped to take control of Lysimachus' European territories, primarily Thrace and Macedon itself. But upon arriving in Thrace in 281 BC, Seleucus was assassinated by Ptolemy Ceraunus,[3] who had taken refuge at the Seleucid court with his sister Lysandra. The assassination of Seleucus destroyed Seleucid prospects in Thrace and Macedon, and paved the way for Ptolemy Ceraunus to absorb much of Lysimachus' former power in Macedon. Seleucus was succeeded by his son Antiochus I as ruler of the Seleucid Empire.

Seleucus founded a number of new cities during his reign, including Antioch (300 BC), Edessa and Seleucia on the Tigris (c. 305 BC), a foundation that eventually depopulated Babylon.


ยุคลิด

[แก้]
ยุคลิด
Detail from Raphael's The School of Athens presumed to represent Donato Bramante as Euclid
เกิดกลางศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล
เสียชีวิตกลางศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล
มีชื่อเสียงจาก
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาคณิตศาสตร์

ยุคลิด (อังกฤษ: Euclid /ˈjuːklɪd/; กรีกโบราณ: ΕὐκλείδηςEukleídēs, Ἑλληνιστί [eu̯.kleː.dɛːs] ( ฟังเสียง); fl. 300 BC) บางครั้งถูกเรียกว่า ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย[4] (อังกฤษ: Euclid of Alexandria, เพื่อแยกเขาออกจากยุคลิดแห่งเมการา) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก มักถูกเรียกว่า "ผู้ก่อตั้งเรขาคณิต"[4] หรือ "บิดาแห่งเรขาคณิต" ยุคลิดได้ทำงานในอะเล็กซานเดรีย ในรัชสมัยของทอเลมีที่ 1 (323–283 ปีก่อนคริสต์กาล) Elements ของยูคลิดเป็นหนึ่งในผลงานที่ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ของคณิตศาสตร์ โดยทำหน้าที่เป็นตำราหลักสำหรับสอนคณิตศาสตร์ (โดยเฉพาะเรขาคณิต) นับตั้งแต่เวลาที่ถูกตีพิมพ์จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หรือต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20[5][6][7] ใน Elements ยุคลิดได้อนุมานทฤษฎีของสิ่งที่เรียกว่า เรขาคณิตของยุคลิด ในปัจจุบัน จากชุดเล็กของสัจพจน์ ยุคลิดยังเขียนงานเกี่ยวกับทัศนมิติ, ภาคตัดกรวย, เรขาคณิตทรงกลม, ทฤษฎีจำนวน และความเข้นข้นของคณิตศาสตร์ อีกด้วย


ประวัติ

[แก้]

เป็นที่น่าเสียดายเหลือเกินที่เรารู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและบุคลิกภาพของยูคลิดน้อยมาก รู้แค่เพียงว่าท่านเคยเป็นศาสตราจารย์ด้านคณิตศาสตร์ (professor of mathematics) ของมหาวิทยาลัยอะเล็กซานเดรีย (University of Alexandria) ต่อจากเพลโต และก่อนหน้า อาร์คีมีดีส  และได้ใช้ชีวิตอยู่ที่อะเล็กซานเดรียเป็นเวลานานรวมถึงเป็นผู้ก่อตั้งสำนักคณิตศาสตร์แห่งอะเล็กซานเดรีย (Alexandria School of Mathematics) ขึ้นด้วย ซึ่งสำนักแห่งนี้ก็มีชื่อเสียงต่อมาอีกเป็นเวลานาน

มีหลักฐานอีกอย่างหนึ่งที่ทำให้เราเชื่อได้ว่ายุคลิดเคยได้รับการศึกษาทางด้านคณิตศาสตร์ที่สำนักเพลโต (Platonic School) ที่กรุงเอเธนส์ (Athens) มาก่อน และมาอยู่ที่อะเล็กซานเดรียภายหลังจากที่พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great, ประมาณ 359–323 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้สร้างเมืองอะเล็กซานเดรียขึ้น และท่านก็มีชื่อเสียงแพร่หลายในรัชสมัยโตเลมีที่ 1 พระเจ้าโซเตอร์ (Ptolemy I Sotor, ประมาณ 367–282 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ซึ่งพระเจ้าโตเลมีที่ 1 นี่เองที่ทรงเป็นผู้สร้างมหาวิทยาลัยอะเล็กซานเดรียขึ้นเมื่อประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการที่จะชัดจูงคนที่มีการศึกษาดีมาอยู่ในเมืองนี้ และมหาวิทยาลัยแห่งนี้ก็นับได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับมหาวิทยาลัยในปัจจุบันมากที่สุด มีทั้งห้องบรรยาย ห้องทดลอง สวน พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุดและที่อยู่ของเจ้าหน้าที่ แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดคือห้องสมุด ซึ่งสร้างไว้ได้อย่างใหญ่โตมาก และนับว่าเป็นที่เก็บรวบรวมผลงานที่ใช้ในการศึกษาในมหาวิทยาลัยเป็นจำนวนมาก ดังที่มีคำกล่าวเปรียบเปรยว่า ภายในระยะเวลา 40 ปีนับตั้งแต่มีการก็ตั้งห้องสมุดมาเท่านั้นก็มีม้วนกระดาษปาปิรุส (papyrus rolls) มากกว่า 6 ม้วน และอะเล็กซานเดรียก็กลายเป็นศูนย์กลางทางด้านวิชาการ (Intellectual metropolis) ของชาวกรีกติดต่อกันมา

เรื่องเล่าเกี่ยวกับยุคลิด

[แก้]

ปัปปุส (Pappus, ประมาณ ค.ศ. 300) นักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงอีกท่านหนึ่งเคยยกย่องยุคลิดไว้ว่า “เมื่อเปรียบเทียบกับอะโปลโลเนียส (Apollonius of Perga, ประมาณ 225 ปีก่อนคริสต์ศักราช) แล้ว ยุคลิดช่างเป็นคนที่ถ่อมตนและนึกถึงคนอื่น ๆ อยู่เสมอ”

โปรคลุส (Proclus, ค.ศ. 410–485) ได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับยุคลิดในหนังสือ Eudemian Summary ว่า “เมื่อยุคลิดได้เป็นพระอาจารย์วิชาเรขาคณิตในพระเจ้าทอเลมีที่ 1 พระองค์มีรับสั่งถามยุคลิดว่า ‘มีทางลัดสำหรับการเรียนวิชาเรขาคณิตไหม?’ ยุคลิดทูลตอบว่า ‘ไม่มีลาดพระบาทสำหรับการเรียนเรขาคณิต’ (There is no royal road to geometry.)” กล่าวคือ การศึกษาวิชาเรขาคณิตไม่ใช่สิ่งที่สะดวกสบายและทำได้ง่าย ๆ แต่มีบางคนกล่าวว่าคำพูดนี้เป็นคำพูดของเมแนชมุส (Menaechmus, ประมาณ 350 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เมื่อทูลตอบพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช

เมื่อมีลูกศิษย์คนหนึ่งถามยุคลิดในระหว่างที่เรียนเรขาคณิตว่า “เราจะได้อะไรเป็นผลตอบแทนบ้างจากการเรียนสิ่งที่ยากเหล่านี้” (What will I get by learning difficult thing?) ซึ่งคำถามนี้คงจะหมายความว่าจะนำความรู้ทางเรขาคณิตไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง เพราะเรขาคณิตที่ยุคลิดสอนนั้นมีแต่การพิสูจน์และการให้เหตุผล ซึ่งเป็นการยากที่ยุคลิดจะตอบได้ในทันทีทันใด ท่านจึงสั่งให้ทาสไปหยิบเหรียญเงิน 2 โอปอลมา 1 เหรียญมอบให้แก่ลูกศิษย์คนนั้นและตอบว่า “เจ้าจะต้องได้รับกำไรหรือประโยชน์จากสิ่งที่เรียนรู้แน่นอน” (for he must make a profit from what he learns.) ที่ยุคลิดกล่าวเช่นนั้นเพื่อแสดงให้เห็นว่าในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ไม่มีทางลัด และไม่สามารถเรียนหรือฝึกหัดแทนกันได้ ผู้เรียนจะต้องพอใจและรักในวิชาคณิตศาสตร์เพราะตัววิชาคณิตศาสตร์เอง

จากเรื่องที่เล่ามานี้แสดงให้เห็นว่า ยุคลิดเป็นผู้ที่มีความรอบรู้และมีความอดทน และเป็นครูที่ดี เป็นนักอนุรักษ์ เป็นผู้ที่อุทิศเวลาให้กับการศึกษาคณิตศาสตร์ และเป็นผู้ที่มีความลึกซึ้งในวิชาคณิตศาสตร์มาก

ผลงาน

[แก้]

ผลงานที่สำคัญของยุคลิดคือการเขียนตำราทางคณิตศาสตร์และดารศาสตร์ ผลงานบางชิ้นสูญหายไปแล้ว เช่น งานเขียนเกี่ยวกับภาคตัดกรวยที่ยุคลิดรวบรวมจากการค้นคว้าของอริสเตอุส (Aristaeus, ประมาณ 320 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ซึ่งเป็นนักเรขาคณิตยุคเดียวกับยุคลิด และงานเขียนเกี่ยวกับภาคตัดกรวยเช่นกันแต่เป็นผลงานของเมแนชมุส

ยุคลิดมีผลงานอย่างน้อยที่สุด 9 ชิ้น ได้แก่ Elements, Data, On Divisions (หรือ ), Pseudaria, Porissms, Conics, Phacnomena, Optics, Elements of Music แต่มีผลงานที่ ยังคงเหลืออยู่ในปัจจุบัน 5 ชิ้นด้วยกัน คือ

1. Division of Figures กล่าวถึงการแบ่งรูปในระนาบ ประกอบด้วยทฤษฎีบท 36 บท เช่น ทฤษฎีบทที่ 1 ว่าด้วยการสร้างเส้นตรงให้ขนานกับฐานของสามเหลี่ยมและแบ่งสามเหลี่ยมออกเป็นสองส่วนโดยมีพื้นที่เท่ากัน เป็นต้น

2. Data เปรียบเทียบได้กับคู่มือการสอนที่ใช้ควบคู่กับหนังสือ Elements 6 เล่มแรก เนื้อหาสาระจึงเน้นที่การชี้แนะวิธีวิเคราะห์ปัญหาทางเรขาคณิต

3. Phacnomena กล่าวถึงเรขาคณิตบนทรงกลม

4. Optics กล่าวถึงการศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ของแสง

5. Elements เป็นตำราทางเรขาและคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของท่านซึ่งเราจะกล่าวถึงอย่างละเอียดต่อไป

Elements ของยุคลิด

[แก้]
Euclides, 1703

ที่ต้องนำหนังสือ Elements มากล่าวเป็นกรณีพิเศษก็เนื่องจากว่าเป็นหนังสือที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของยุคลิด และได้รับการกล่าวขวัญว่าเป็นตำราที่สำคัญที่สุดเล่มหนึ่งในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ เป็นหนังสือที่มีคนอ่านมากที่สุดเป็นลำดับสองรองจากคำภีร์ไบเบิ้ล และถ้าไม่นับรวมคำภีร์ไบเบิ้ลแล้ว อาจกล่าวได้ว่าไม่มีหนังสือเล่มใดจะมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของมนุษย์และถูกใช้อย่างกว้างขวางเท่ากับ Elements ว่ากันว่าในทันทีที่หนังสือ Elements ออกมายุคลิดก็ได้รับการกล่าวถึงอย่างชื่นชมอย่างกว้างขวาง ทั้งที่จริง ๆ แล้วยุคลิดมีผลงานออกมาแล้วหลายเล่ม และนับตั้งแต่สมัยของยุคลิดจนกระทั่งถึงสมัยใหม่หากเพียงแต่กล่าวว่าทฤษฎีหรือบทสร้างที่เท่าใด ใน Elements เล่มไหนก็จะสร้างสามารถบอกได้ทันทีว่าทฤษฎีบทหรือบทสร้างนั้นมีใจความว่าอย่างไร

หนังสือ Elements ได้รับการปรับปรุงแก้ไขมากกว่า 1 พันครั้งและเป็นเวลานานกว่า 2 พันปีที่ Elements มีอิทธิพลต่อการสอนวิชาเรขาคณิตในสถาบันการศึกษาทั่วโลก

700 ปีหลังจากที่ยุคลิดได้เขียนหนังสือ Elements ขึ้น ธีออน (Theon, ประมาณ ค.ศ. 390) เป็นผู้ปรับปรุง Elements เป็นท่านแรก หลังจากนั้นก็มีการปรับปรุงอีก จนกระทั่งเริ่มคริสต์ศตวรรษที่ 19 

มีการค้นพบ Elements ที่ห้องสมุดสำนักวาติกัน ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นฉบับที่คัดลอกมาจากฉบับที่ปรับปรุงโดยธีออน บทนิยาม สัจพจน์ (ทั้ง Axioms และ Postulates) แตกต่างจากของเดิมบ้าง แต่ทฤษฎีบทและการพิสูจน์ยังคงคล้ายคลึงกับที่ยุคลิดเขียน

การแปล Elements เป็นภาษาละตินครั้งแรกมิได้แปลจากต้นฉบับที่เป็นภาษากรีก แต่แปลจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอาหรับ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าในสมัยที่อะเล็กซานเดรียเสื่อมลง และตกเป็นส่วนหนึ่งของโรมัน ความรู้ต่าง ๆ ถูกขนย้ายไปอยู่ทีตะวันออกกลาง และที่นั่นเองได้มีการเก็บรักษาความรู้ของชาวกรีกที่อะเล็กซานเดรีย รวมถึงการแปลหนังสือต่าง ๆ จากภาษากรีกเป็นภาษาอาหรับ ซึ่งเป็นผลดีเพราะเป็นการเก็บรักษาความรู้ของกรีกไว้ตลอดระยะเวลาที่ยุโรปตกอยู่ในยุดมืด (Dark Age) ต่อมาหลังจากพ้นยุคมืดไปแล้วก็ได้มีนักปราชญ์หลายท่านได้แปล Elements จากภาษาอาหรับเป็นภาษาละติน จนกระทั่งปี ค.ศ. 1570 Elements ภาคภาษาอังกฤษฉบับสมบูรณ์ฉบับแรกก็ไดรับการตีพิมพ์ออกมา

ลักษณะสำคัญของหนังสือ Elements

[แก้]

1. หนังสือ Elements ถือว่าเป็นต้นแบบของระบบคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน กล่าวคือในหนังสือ Elements ยุคลิดได้กำหนดข้อตกลงขึ้น 10 ประการ ยุคลิดเรียกข้อตกลง 5 ประการแรกว่าสัจพจน์ (Axioms) หรือคอมมอนโนชั่น (Common Notions) ซึ่งหมายถึงสิ่งที่เห็นได้จริงโดยไม่ต้องมีการพิสูจน์ในคณิตศาสตร์ทุกแขนง ส่วนข้อตกลง 5 ประการหลังยุคลิดเรียกว่าพอสจูเลต (Postulates) หมายถึงสิ่งที่เห็นได้จริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ในทางเรขาคณิต ข้อตกลงดังกล่าวมีดังนี้

A1  สิ่งทั้งหลายที่เท่ากับสิ่งเดียวกัน สิ่งเหล่านั้นย่อมเท่ากัน

A2  สิ่งที่เท่ากัน เมื่อถูกเพิ่มด้วยสิ่งที่เท่ากัน ผลย่อมเท่ากัน

A3  สิ่งที่เท่ากัน เมื่อถูกหักออกด้วยสิ่งที่เท่ากัน ผลย่อมเท่ากัน

A4  สิ่งที่ทุกอย่างร่วมกันย่อมเท่ากัน

A5  ส่วนรวมย่อมใหญ่กว่าส่วนย่อย

P1  ลากเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้

P2  ต่อเส้นตรงที่มีความยาวจำกัดออกไปเรื่อย ๆ

P3  เขียนวงกลมได้เมื่อกำหนดจุดศูนย์กลางและระยะทางใด ๆ

P4  มุมฉากทุกมุมย่อมเท่ากัน

P5  ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่ง ผ่านเส้นตรง 2 เส้น ทำให้มุมภายในที่อยู่ด้านเดียวกันรวมกันน้อยกว่า 2 มุมฉาก แล้วเส้นตรงสองเส้นจะตัดกันทางด้านที่มีมุมรวมกันน้อยกว่า 2 มุมฉาก ถ้าลากเส้นนั้นต่อไปเรื่อยๆ[2]

จากข้อตกลงทั้ง 10 ประการนี้ ยุคลิดสามารถนำไปสร้างทฤษฎีบทได้ 465 ทฤษฎี โดยใช้วิธีการที่เรียกว่า “การสังเคราะห์” ด้วยการนำบทนิยามหรือทฤษฎีที่รู้แล้ว ประกอบกับการให้เหตุผลเชิงตรรกศาสตร์ ไปสร้างข้อสรุปหรือทฤษฎีบทใหม่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ต่อจากนั้นจึงได้ใช้วิธีการวิเคราะห์พิสูจน์ข้อสรุปหรือทฤษฎีบทเหล่านั้นว่าเป็นจริง

2. ยุคลิดให้นิยามคำศัพท์ทุกคำที่ต้องใช้ในหนังสือ Elements เช่น คำว่าจุด เส้น ระนาบ เป็นต้น

3. การพิสูจน์ที่ปรากฏในหนังสือ Elements ยุคลิดได้พยายามใช้หลักเกณฑ์อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้การพิสูจน์ทฤษฎีบทบางบท จัดได้ว่าเป็นวิธีการให้เหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ที่สละสลวยและสวยงาม จนถือเป็นแบบฉบับมาจนทุกวันนี้ เช่น การพิสูจน์ว่า จำนวนเฉพาะมีจำนวนไม่จำกัด เป็นต้น[3]

หนังสือ Elements มีทั้งหมด 13 เล่ม ซึ่งมีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับเรขาคณิต แต่ก็มีการกล่าวถึงพีชคณิต เรขาคณิตเชิงพีชคณิตเบื้องตน และทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นผลงานของคนอื่น แต่ทว่ายุคลิดได้นำผลงานของนักปราชญ์คนอื่น ๆ ในสมัยก่อน ๆ มารวบรวมเข้าด้วยกันอย่างมีระบบ และเป็นลำดับเหตุผลต่อเนื่องกัน ซึ่งเนื้อหาของทั้ง 13 เล่ม มีรายละเอียดโดยสังเขปดังนี้

เล่ม 1  ประกอบไปด้วยบทนิยาม 13 นิยาม สัจพจน์ 10 ข้อ ยุคลิดเรียกสัจพจน์ 5 ข้อแรกว่า Postulates และ 5 ข้อหลังเรียกว่า Common notion และทฤษฎีบทอีก 48 ทฤษฎีบท ซึ่งรวมถึงทฤษฎีปีทาโกรัสและบทกลับเอาไว้ด้วย

เล่ม 2  เกี่ยวกับการเปลี่ยนรูป พื้นที่ของรูปต่าง ๆ และพีชคณิตเชิงเรขาคณิตของปีทาโกรัส

เล่ม 3  เป็นทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม คอร์ด เส้นสัมผัสวงกลมและการวัดมุมต่าง ๆ

เล่ม 4   เป็นการอภิปรายผลงานของโรงเรียนปีทาโกเรียน เรื่อง การสรางรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่าโดยใช้วงเวียนและสันตรง

เล่ม 5 ยุคลิดนำแนวคิดของยูโดซุสมาอธิบายเรื่องทฤษฎีสัดส่วนได้อย่างดีเยี่ยม และนำการประยุกต์ในการหาขนาด ซึ่งแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการค้นพบจำนวนอตรรกยะ

เล่ม 6 นำทฤษฎีสัดส่วนของยูโดซุสมาใช้กับเรขาคณิตในระนาบเกี่ยวกับทฤษฎีบทของรูปสามเหลี่ยมคล้าย

เล่ม 7 ทฤษฎีจำนวน: การจำแนกจำนวนเป็นจำนวนคู่ จำนวนคี่ จำนวนเฉพาะ และจำนวนนสมบูรณ์ (Perfect Number) ตัวหารร่วมมาและตัวคูณร่วมน้อย

เล่ม 8 สัดส่วนต่อเนื่อง

เล่ม 9   เกี่ยวกับทฤษฎีจำนวนต่อจากเล่ม 7 และ 8 ทฤษฎีที่มีชื่อเสียงของเล่มนี้คือ จำนวนเฉพาะมีจำนวนไม่จำกัด

เล่ม 10    เกี่ยวกับเรขาคณิตที่เกี่ยวกับจำนวนอตรรกยะ

เล่ม 11    ความรู้เกี่ยวกับเรขาคณิตสามมิติที่สมนัยกับเล่ม 1

เล่ม 12    เรื่องปริมาตรและทฤษฎีบทของยูโดซุสเกี่ยวกับระเบียบวิธีเกษียณ (Method of exhaustion) ซึ่งเป็นพื้นฐานนำไปสู่เรื่องลิมิต (Limit)

เล่ม 13    เกี่ยวกับการสร้างรูปทรงสามมิติ

ปิดท้าย

แม้ว่ายุคลิดจะไม่ได้เป็นนักคณิตศาสตร์ที่สร้างสรรค์งานทางคณิตศาสตร์ขึ้นใหม่ แต่งานที่เขารวบรวมขึ้นอย่างเป็นระบบ กลับกลายเป็นผลงานที่มีผลกระทบต่อมนุษยชาติมามากกว่า 2000 ปี โดยเฉพาะทางด้านเรขาคณิต จึงไม่น่าแปลกถ้าหากเราไปอ่านหนังสือบางเล่ม จะกล่าวยกย่องว่ายุคลิด คือ บิดาแห่งวิชาเรขาคณิต

[1] ปีที่มีชีวิตอยู่ของนักคณิตศาสตร์ในหนังสือและเอกสารหลายเล่มไม่ตรงกัน ในที่นี่จะยึดตามหนังสือ An Introduction to the History of Mathematics ของ Howard Eves

[2] ถึงกับมีการกล่าวว่าสัจพจน์ข้อนี้เป็นข้อความที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประวัติและพัฒนาการของวิทยาศาสตร์

[3] สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จากงานเขียนของ ดร.กิตติกร  นาคประสิทธิ์ และ ผศ.ดร.สาธิต  แซ่จึง เรื่องมีจำนวนเฉพาะอยู่เป็นอนันต์  ในนิตยสาร My Math ตั้งแต่ปีที่ 2 ฉบับ 3 (มีนาคม 2549)

เอกสารประกอบการเรียบเรียง

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน. ภาควิชาคณิตศาสตร์. (2530). ประวัตินักคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาศึกษาศาสตร์. (2543). เอกสารการสอนชุดวิชาคณิตศาสตร์ 4 หน่วยที่ 1–8 = Mathematics 4. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมาธิราช.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2540). ศัพท์คณิตศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

สมพร เรืองโชติวิทย์. (2523). รากฐานเรขาคณิต. กรุงเทพฯ: ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน.

อัควีร์ มัธยมจันทร์. (2544, พฤศจิกายน). “เปิดปูมประวัติคณิตศาสตร์,” อัปเดต. 17(171): 34–37.

Bruno, Leonard C. (1999). Math and Mathematicians: the History of Math Discoveries Around the World. Detroit: U–X–L.

Eves, Haward. (1964). An Introduction to the History of Mathematics. New York: Holt Rinehort and Winston.

O'Connor, J. J. and Robertson, E. F. (Access on September 2002). Euclid of Alexandria (Online). Available: URL http://www-groups.dcs.st-and.ac.uk/~history/Mathematicians/

Euclid.html.

ยุคลิดแห่งอเล็กซานเดรีย

ยุคลิด (อังกฤษ: Euclid) หรือ ยุคลิดแห่งอเล็กซานเดรีย เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกที่มีชีวิตอยู่ประมาณ พ.ศ. 218 ได้กล่าวถึงการหา ห.ร.ม. หรือ ตัวหารร่วมมาก ของจำนวนนับ 2 จำนวนที่มีค่ามากอย่างรวดเร็ว ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด

หลักฐานและเรื่องราวเกี่ยวกับตัวยูคลิดยังคงสับสน เพราะมีผู้เขียนไว้หลายรูปแบบ อย่างไรก็ตามผลงานเรื่อง The Elements ยังคงหลงเหลืออยู่จนถึงทุกวันนี้ จากหลักฐานที่สับสนทำให้สันนิษฐานที่เกี่ยวกับยูคลิดมีหลายแนวทาง เช่น ยุคลิดเป็นบุคคลที่เขียนเรื่อง The Element หรือยูคลิดเป็นหัวหน้าทีมนักคณิตศาสตร์ที่อาศัยอยู่ที่อเล็กซานเดรีย และได้ช่วยกันเขียนเรื่อง The Elements อย่างไรก็ดีส่วนใหญ่ก็มั่นใจว่ายูคลิดมีตัวตนจริง และเป็นปราชญ์อัจฉริยะทางด้านคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตในยุคกว่า 2,000 ปี

ผลงาน The Elements แบ่งออกเป็นหนังสือได้ 13 เล่ม ใน 6 เล่มแรกเป็นผลงานเกี่ยวกับเรขาคณิต เล่ม 7, 8 และ 9 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎีตัวเลข เล่ม 10 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎีที่ว่าด้วยจำนวนอตรรกยะ เล่ม 11, 12 และ 13 เกี่ยวข้องกับเรื่องราว รูปเรขาคณิตทรงตัน และปิดท้ายด้วยการกล่าวถึงรูปทรงหลายเหลี่ยม และข้อพิสูจน์เกี่ยวกับรูปทรงหลายเหลี่ยม

ผลงานของยูคลิดเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางมาก และกล่าวกันว่าผลงาน The Elements เป็นผลงานที่ต่อเนื่อง และดำเนินมาก่อนแล้วในเรื่องผลงานของนักคณิตศาสตร์ยุคก่อน เช่น ทาลีส (Thales), ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) และพีธากอรัส อย่างไรก็ตาม หลายผลงานที่มีในหนังสือนี้เป็นที่เชื่อกันว่าเป็นบทพิสูจน์และผลงานของยูคลิดเอง ผลงานของยูคลิดที่ได้รับการนำมาจัดทำใหม่ และตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1482 หลังจากนั้นมีผู้นำมาตีพิมพ์อีกมากมายนับจำนวนครั้งไม่ถ้วน

อ้างอิง

[แก้]
  1. Boiy "The Reigns of the Seleucid Kings According the Babylonian King List." Journal of Near Eastern Studies 70(1) (2011): 1–12.
  2. Appian, p. 55.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ EB1911
  4. 4.0 4.1 Bruno, Leonard C. (2003) [1999]. Math and Mathematicians: The History of Math Discoveries Around the World. Baker, Lawrence W. Detroit, Mich.: U X L. pp. 125. ISBN 978-0-7876-3813-9. OCLC 41497065.
  5. Ball, pp. 50–62.
  6. Boyer, pp. 100–19.
  7. Macardle, et al. (2008). Scientists: Extraordinary People Who Altered the Course of History. New York: Metro Books. g. 12.

บรรณานุกรม

[แก้]

หนังสืออ่านเพิ่ม

[แก้]
  • DeLacy, Estelle Allen (1963). Euclid and Geometry. New York: Franklin Watts.
  • Knorr, Wilbur Richard (1975). The Evolution of the Euclidean Elements: A Study of the Theory of Incommensurable Magnitudes and Its Significance for Early Greek Geometry. Dordrecht, Holland: D. Reidel. ISBN 90-277-0509-7.
  • Mueller, Ian (1981). Philosophy of Mathematics and Deductive Structure in Euclid's Elements. Cambridge, MA: MIT Press. ISBN 0-262-13163-3.
  • Reid, Constance (1963). A Long Way from Euclid. New York: Crowell.
  • Szabó, Árpád (1978). The Beginnings of Greek Mathematics. A.M. Ungar, trans. Dordrecht, Holland: D. Reidel. ISBN 90-277-0819-3.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


จักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1

[แก้]
  • จักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1
  • จัสติเนียนมหาราช
  • นักบุญจัสติเนียน
  • จัสติเนียนที่หนึ่ง
  • Μέγας Ἰουστινιανός
ออกัสตัส
ภาพโมเสกในBasilica of San Vitale, ราเวนนา
จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์
ครองราชย์1 สิงหาคม ค.ศ.527 – 14 พฤศจิกายน ค.ศ.565
ร่วมจักรพรรดิ: 1 เมษายน ค.ศ.527–1 สิงหาคม ค.ศ.527
ราชาภิเษก1 สิงหาคม ค.ศ.527
ก่อนหน้าจักรพรรดิจัสตินที่ 1
ถัดไปจักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2
ร่วมอุปราชจักรพรรดินีธีโอโดรา
ประสูติป. 482
Tauresium, Dardania, จักรวรรดิไบแซนไทน์[1]
สวรรคต14 พฤศจิกายน ค.ศ.565 (83 พรรษา)
คอนสแตนติโนเปิล, จักรวรรดิไบแซนไทน์
ฝังพระศพChurch of the Holy Apostles, คอนสแตนติโนเปิล
คู่อภิเษกจักรพรรดินีธีโอโดรา
พระราชบุตร
  • บุตรสาวไม่ทราบชื่อ
  • จอห์น (รับเลี้ยง)
  • ธีโอโดรา (รับเลี้ยง)
พระนามเต็ม
Petrus Sabbatius
พระรัชกาลนาม
Imperator Caesar Flavius Petrus Sabbatius Iustinianus Augustus
ราชวงศ์ราชวงศ์จัสติเนียน
พระราชบิดา
  • Sabbatius
  • Justin I (รับเลี้ยง)
พระราชมารดาVigilantia
ศาสนาChalcedonian Christianity

จักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 (ละติน: Flavius Petrus Sabbatius Iustinianus; กรีก: Ἰουστινιανός, ทับศัพท์ Ioustinianós) เป็นที่รู้จักกันดีในนาม ยุสตินิอานุสมหาราช (อังกฤษ: Justinian the Great; ค.ศ. 482 - 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 565) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์ยุสตินิอานุส ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่ ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565

รัชสมัยของพระองค์ถูกทำเครื่องหมายโดยความปรารถนา แต่มีเพียงบางส่วนที่ตระหนักถึง เรโนเวติโออิมเพอร์รี หรือ "การฟื้นฟูจักรวรรดิ"[2] ความปรารถนาเริ่มชัดเจนขึ้นโดยการฟื้นฟูดินแดนของจักรวรรดิโรมันตะวันตกที่ล่มสลายไป [3] เบรีซาอุส แม่ทัพของพระองค์พิชิตราชอาณาจักรแวนดัลได้อย่างรวดเร็ว ต่อมา เบรีซาอุส นาเซเรส และนายพลคนอื่น ๆ พิชิตราชอาณาจักรออสโตรกอท และฟื้นฟูแดลเมเชีย ซิซิลี อิตาลี และโรม กลับมาสู่จักรวรรดิหลังอยู่ใต้การปกครองของออสโตรกอทมานานกว่าครึ่งศตวรรษ The praetorian prefect Liberius reclaimed the south of the Iberian peninsula, establishing the province of Spania. These campaigns re-established Roman control over the western Mediterranean, increasing the Empire's annual revenue by over a million solidi.[4] During his reign, Justinian also subdued the Tzani, a people on the east coast of the Black Sea that had never been under Roman rule before.[5] He engaged the Sasanian Empire in the east during Kavad I's reign, and later again during Khosrow I's; this second conflict was partially initiated due to his ambitions in the west.

A still more resonant aspect of his legacy was the uniform rewriting of Roman law, the Corpus Juris Civilis, which is still the basis of civil law in many modern states.[6] His reign also marked a blossoming of Byzantine culture, and his building program yielded works such as the Hagia Sophia. He is called "Saint Justinian the Emperor" in the Eastern Orthodox Church.[7] Because of his restoration activities, Justinian has sometimes been known as the "Last Roman" in mid-20th century historiography.[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. History of the Later Roman Empire from Arcadius to Irene, Volume 2, J. B. Bury, Cosimo, Inc., 2008, ISBN 1605204056, p. 7.
  2. J. F. Haldon, Byzantium in the seventh century (Cambridge, 2003), 17–19.
  3. On the western Roman Empire, see now H. Börm, Westrom (Stuttgart 2013).
  4. "History 303: Finances under Justinian". Tulane.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2008. สืบค้นเมื่อ 14 November 2012.
  5. Evans, J. A. S., The Age of Justinian: the circumstances of imperial power. pp. 93–94
  6. John Henry Merryman and Rogelio Pérez-Perdomo, The Civil Law Tradition: An Introduction to the Legal Systems of Europe and Latin America, 3rd ed. (Stanford: Stanford University Press, 2007), pp. 9–11.
  7. "St. Justinian the Emperor". Orthodox Church in America (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 25 November 2017.
  8. For instance by George Philip Baker (Justinian, New York 1938), or in the Outline of Great Books series (Justinian the Great).

จักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราช ()

[แก้]
Phaisit16207/ทดลองเขียน 2
จักรพรรดิโรมัน
ครองราชย์25 กรกฎาคม ค.ศ. 306 – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337 (ทรงครองราชย์ด้วยตัวพระองค์เองตั้งแต่ 19 กันยายน ค.ศ. 324)
ก่อนหน้าจักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 1
(ในฐานะจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิตะวันตก)
ถัดไป
ผู้ปกครองร่วมหรือคู่แข่งของพระองค์
ประสูติ27 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 272[1]
นาอิสซุส, มณฑลมอยซิอา, จักรวรรดิโรมัน[2] (ในปัจจุบันคือประเทศเซอร์เบีย)
ฟลาวิอุส กงสตันตินุส
สวรรคต22 พฤษภาคม ค.ศ. 337 (65 พรรษา)
อคีรอน, นิโกเมดิอา, มณฑลบิทีนิอา, จักรวรรดิโรมัน
(ในปัจจุบันคือ อิซมิด, โกจาอลี, ตุรกี)
ฝังพระศพOriginally The Church of the Holy Apostles, Constantinople, but Constantius II, his son, had it moved
คู่อภิเษก
พระราชบุตร
Detail
พระนามเต็ม
Flavius Valerius Constantinus
GreekΚωνσταντῖνος
ราชวงศ์Constantinian
พระราชบิดาConstantius Chlorus
พระราชมารดาHelena
ศาสนาRoman Paganism (until 312)
Christianity (from 312)
Constantine the Great
Mosaic in the Hagia Sophia, section: Maria as patron saint of Constantinople, detail: donor portrait of Emperor Constantine I with a model of the city
Emperor and Equal to the Apostles
ที่พักหลังสิ้นชีวิตConstantinople (modern-day Istanbul, Turkey)
นับถือ ใน
สักการสถานหลักChurch of the Holy Apostles, Constantinople (modern-day Istanbul, Turkey)
วันฉลอง21 May

ประเทศ

[แก้]

ราชอาณาจักรนาโปลี (นโปเลียน)

[แก้]
ราชอาณาจักรนาโปลี

Regno di Napoli (อิตาลี)
Regno 'e Napule (นาโปลี)
Royaume de Naples (ฝรั่งเศส)
ค.ศ. 1806–ค.ศ. 1815
ธงชาตินาโปลี
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของนาโปลี
ตราแผ่นดิน
ที่ตั้งของนาโปลี
สถานะรัฐบริวารของจักรวรรดิฝรั่งเศส
เมืองหลวงนาโปลี
ภาษาทั่วไปอิตาลี, นาโปลี, ฝรั่งเศส
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
พระมหากษัตริย์ 
• ค.ศ. 1806–1808
พระเจ้าโฌแซ็ฟที่ 1
• ค.ศ. 1808–1815
ฌออากีม–นโปเลียน
ยุคประวัติศาสตร์สงครามนโปเลียน
• ประกาศก่อตั้ง
30 มีนาคม ค.ศ. 1806
• โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต เสด็จสู่นาโปลี
15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1806
10 มีนาคม ค.ศ. 1806
• ฌออากีม มูว์รา มาแทนที่โฌแซ็ฟ
1 สิงหาคม ค.ศ. 1808
3 พฤษภาคม ค.ศ. 1815
9 มิถุนายน ค.ศ. 1815
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชอาณาจักรนาโปลี
ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง
Civil ensign

ราชอาณาจักรนาโปลี (อิตาลี: Regno di Napoli; นาโปลี: Regno 'e Napule; ฝรั่งเศส: Royaume de Naples) หรือ ราชอาณาจักรเนเปิลส์ (อังกฤษ: Kingdom of Naples) เป็นรัฐบริวารของฝรั่งเศส เมื่อพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 และ 7 แห่งนาโปลีและซิซิลี แห่งราชวงศ์บูร์บง อยู่ฝ่ายของสหสัมพันธมิตร ต่อกรกับจักรพรรดินโปเลียน และผลลัพธ์ในทางกลับกันคือพระองค์ถูกขับไล่ออกจากราชอาณาจักรโดยการรุกรานของฝรั่งเศส โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต พี่ชายของจักรพรรดินโปเลียน ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาโปลี แทนที่พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ โฌแซ็ฟได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "เจ้าชายแห่งนาโปลี" เพื่อเป็นมรดกแก่ลูกหลานของโฌแซ็ฟ เมื่อโฌแซ็ฟกลายเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนใน ค.ศ. 1808 นโปเลียนแต่งตั้งน้องเขยของเขา ฌออากีม มูว์รา ให้ขึ้นมาเป็นพระมหากษัตริย์แทน ภายหลังมูว์ราโดนถอดถอนโดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา ใน ค.ศ. 1815 ภายหลังปะทะกับจักรวรรดิออสเตรียในสงครามนาโปลี ซึ่งเขาได้รับความปราชัยอย่างเด็ดขาดในยุทธการตูแร็งติโน

ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์ของนโปเลียน จะมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า พระมหากษัตริย์แห่งนาโปลีและซิซิลี ก็ตาม แต่การที่บริเตนมีอำนาจในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนนั้น ทำให้ฝรั่งเศสไม่สามารถเข้าควบคุมดินแดนซิซิลี ที่ซึ่งพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ได้หลบหนีไป และอำนาจของจักรวรรดิฯ ถูกจำกัดขอบเขตอยู่ในราชอาณาจักรนาโปลีบนแผ่นดินใหญ่อยู่อย่างเพียงลำพัง ในขณะที่พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ ยังคงพำนักอยู่และได้ปกครองดินแดนของราชอาณาจักรซิซิลี

ด้วยจิตวิญญาณแห่งการปรับปรุงให้ทันสมัยในสมัยของการปฏิวัติฝรั่งเศส ระบอบการปกครองโฌแซ็ฟและมูว์รา จึงได้ดำเนินแผนงานการปฏิรูปอย่างกว้างขว้าง ต่อองค์กรและโครงสร้างของราชอาณาจักรศักดินาโบราณ ในวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1806 ได้มีการยกเลิกระบบศักดินา และสิทธิ์และอภิสิทธิ์ทั้งหมดของชนชั้นขุนนางถูกยกเลิก[6] การเก็บภาษีที่นาก็ได้สิ้นสุดลง และการจัดเก็บภาษีทั้งหมด ก็ค่อย ๆ ถูกควบคุมจากส่วนกลางโดยตรง ในขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ได้นำผู้รับจ้างออกจากระบบการจัดเก็บภาษี และชดเชยผู้ที่สูญเสียอภิสิทธิ์ของการเก็บภาษีจากระบบศักดินาด้วยพันธบัตร[7] ระบบไฟถนนสาธารณะระบบแรก ซึ่งจำลองมาจากกรุงปารีส ก็ถูกติดตั้งในเมืองนาโปลีในรัชสมัยของโฌแซ็ฟ เช่นกัน

ราชอาณาจักรนี้ยังคงมีความรู้สึกต่อต้านศาสนา ซึ่งเคยอยู่ในสมัยของการปฏิวัติ ทรัพย์สินของคริสตจักรถูกยึดและถูกขายทอดตลาดเป็นเบียงนาฌูนู (เพื่อเป็นการชดเชยการสูญเสียสิทธิ์ของขุนนาง ขุนนางจะได้รับหนังสือรับรอง ซึ่งสามารถนำไปแลกเปลี่ยนเป็นทรัพย์สินดังกล่าวได้) อย่างไรก็ตาม มิใช่ว่าอสังหาริมทรัพย์ของคริสตจักรจะถูกขายทั้งหมดภายในทันที with some retained to support charitable and educational foundations.[8] Most monastic orders were also suppressed and their funds transferred to the royal treasury, however, although both the Benedictines and Jesuits were dissolved, Joseph preserved the Franciscans.[9]

In 1808 Joachim Murat, husband of Napoleon's sister Caroline, was granted the crown of Naples by the Emperor after Joseph had reluctantly accepted the throne of Spain. Murat joined Napoleon in the disastrous campaign of 1812 and, as Napoleon's downfall unfolded, increasingly sought to save his own kingdom. Opening communications with the Austrians and British, Murat signed a treaty with the Austrians on January 11, 1814 in which, in return for renouncing his claims to Sicily and providing military support to the Allies in the war against his former Emperor, Austria would guarantee his continued possession of Naples.[10] Marching his troops north, Murat's Neapolitans joined the Austrians against Napoleon's stepson, Eugene de Beauharnais, Viceroy of the Kingdom of Italy. After initially opening secret communications with Eugene to explore his options of switching sides again, Murat finally committed to the allied side and attacked Piacenza.[11] Upon Napoleon's abdication on 11 April 1814 and Eugene's armistice, Murat returned to Naples, however his new allies trusted him little and he became convinced that they were about to depose him. Upon Napoleon's return in 1815, Murat struck out from Rimini at the Austrian forces in northern Italy, in what he considered a pre-emptive attack. The powers at the Congress of Vienna assumed he was in concert with Napoleon, but this was in fact the opposite of the truth, as Napoleon was then seeking to secure recognition of his return to France through promises of peace, not war. On 2 April Murat entered Bologna without a fight, but soon he was in headlong retreat as the Austrians crossed the Po at Occhiobello and his Neapolitan forces disintegrated at the first sign of a skirmish. Murat withdrew to Cesena, then Ancona, then Tolentino.[12] At the Battle of Tolentino on 3 May 1815 the Neapolitan army was swept aside and, though Murat escaped to Naples, his position was irrecoverable and he soon continued his flight, leaving Naples for France. Ferdinand IV & VI was soon restored and the Napoleonic kingdom came to an end. The Congress of Vienna confirmed Ferdinand in possession of both his ancient kingdoms, Naples and Sicily, but under the new unified title of King of the Two Sicilies, which would survive until 1861.

อ้างอิง

[แก้]
  1. Birth dates vary, but most modern historians use "ประมาณ 272". Lenski, "Reign of Constantine" (CC), 59.
  2. "Constantine I | Biography, Accomplishments, Death, & Facts". Encyclopaedia Britannica Online.
  3. "Constantine the Great". Catholic Encyclopedia. New Advent. สืบค้นเมื่อ 9 January 2022.
  4. "St. Constantine". FaithND. University of Notre Dame. สืบค้นเมื่อ 9 January 2022.
  5. "Saint Constantine the Great". Saint Constantine Ukrainian Catholic Church. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 February 2020.
  6. Procacci, 266.
  7. Connelly, 80.
  8. Connelly, 81.
  9. Connelly, 78.
  10. Connelly, 304.
  11. Connelly, 310.
  12. Connelly, 323.

ราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน)

[แก้]
ราชอาณาจักรอิตาลี

Regno d'Italia
Royaume d'Italie
ค.ศ. 1805–ค.ศ. 1814
ตราแผ่นดินของอิตาลี
ตราแผ่นดิน
ราชอาณาจักรอิตาลีใน ค.ศ. 1812
ราชอาณาจักรอิตาลีใน ค.ศ. 1812
สถานะรัฐร่วมประมุขร่วมกับจักรวรรดิฝรั่งเศส
เมืองหลวงมิลาน
ภาษาทั่วไปอิตาลี, ฝรั่งเศส
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
พระมหากษัตริย์ 
• ค.ศ. 1805–1814
นโปเลียนที่ 1
อุปราช 
• ค.ศ. 1805–1814
เออแฌน เดอ โบอาร์แน
สภานิติบัญญัติสภาที่ปรึกษา
ยุคประวัติศาสตร์สงครามนโปเลียน
17 มีนาคม ค.ศ. 1805
19 มีนาคม ค.ศ. 1805
23 พฤษภาคม ค.ศ. 1805
26 ธันวาคม ค.ศ. 1805
8 กุมภาพันธ์ 1814
11 เมษายน ค.ศ. 1814
30 พฤษภาคม ค.ศ. 1814
สกุลเงินลีราอิตาลี
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง
สาธารณรัฐอิตาลี
มณฑลเวเนเซีย
รัฐสันตะปาปา
สาธารณรัฐโนลี
สาธารณรัฐรกูซา
ราชอาณาจักรลอมบาร์เดีย-เวนิส
ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย
ดัชชีโมเดนาและเรจโจ
รัฐสันตะปาปา

ราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลี: Regno d'Italia หรือ Regno Italico, ฝรั่งเศส: Royaume d'Italie) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอิตาลี (ก่อนหน้านี้คือสาธารณรัฐอิตาลี) โดยเป็นรัฐร่วมประมุขร่วมกับฝรั่งเศส ภายใต้การปกครองของนโปเลียนที่ 1 ราชอาณาจักรนี้ได้รับอิทธิพลอย่างเต็มเปี่ยมมาจากการปฏิวัติฝรั่งเศส และสิ้นสุดลงด้วยความปราชัยและการล่มสลายของนโปเลียน รัฐบาลของราชอาณาจักรถูกแต่งตั้งโดยนโปเลียนที่ 1 ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี และได้แต่งตั้ง เออแฌน เดอ โบอาร์แน พระราชโอรสบุญธรรมของพระองค์ เป็นอุปราชแทนพระองค์ It covered Savoy and the modern provinces of Lombardy, Veneto, Emilia-Romagna, Friuli Venezia Giulia, Trentino, South Tyrol, and Marche. Napoleon I also ruled the rest of northern and central Italy in the form of Nice, Aosta, Piedmont, Liguria, Tuscany, Umbria, and Lazio, but directly as part of the French Empire, rather than as part of a vassal state.

ราชอาณาจักรอิตาลีเกิดขึ้นจากสาธารณรัฐอิตาลีที่มีนโปเลียนเป็นประธานาธิบดีได้รับการประกาศให้เป็นราชอาณาจักรโดยมีนโปเลียนเป็นพระมหากษัตริย์และ เออแฌน เดอ โบอาร์เนส์ (Eugène de Beauharnais) เป็นอุปราช นโปเลียนทรงได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ที่มหาวิหารมิลาน[1]ด้วยมงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์ดี

รัฐธรรมนูญ

[แก้]

กองทัพ

[แก้]

การล่มสลาย

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Milan[1]

หนังสืออ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Connelly, Owen. Napoleon's Satellite Kingdoms (1965)
  • Gregory, Desmond. Napoleon's Italy (2001)
  • Rath, R. John. The Fall of the Napoleonic Kingdom of Italy (1814) (1941)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

อื่นๆ

[แก้]

ราชวงศ์โบนาปาร์ต

[แก้]
Phaisit16207/ทดลองเขียน 2
พระราชอิสริยยศ
รายชื่อ
ปกครอง
เชื้อชาติอิตาลี, คอร์ซิกา, ฝรั่งเศส
สาขาสายเจ้าชายคานิโน
สายเจ้าชายนโปเลียน
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์:
ชาร์ล & ฌ็อง-คริสตอฟ นโปเลียน
สถาปนาค.ศ. 1804
สิ้นสุดค.ศ. 1815, ค.ศ. 1870

ราชวงศ์โบนาปาร์ต (ฝรั่งเศส: Maison de Bonaparte) เป็นราชวงศ์สุดท้าย ที่ปกครองฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1804 โดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และราชวงศ์นี้ในรัชสมัยจักรพรรดินโปเลียนได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง แต่หลังจากที่พ่ายแพ้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี ค.ศ. 1815 จักรพรรดินโปเลียนก็ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ โดยก่อนหน้านั้นประเทศใกล้เคียงก็ได้มีสมาชิกราชสกุลโบนาปาร์ตไปปกครอง แต่หลังจากนโปเลียนลงจากราชบัลลังก์ กษัตริย์ในประเทศที่มีเชื้อพระวงศ์โบนาปาร์ตปกครองก็สละราชสมบัติและถูกเนรเทศไปจนหมดสิ้น

หลังจากนโปเลียนถูกเนรเทศไปเกาะเอลบาได้ไม่นานก็ทรงรวบรวมกำลังทหารขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมกับหนีออกจากเกาะเอลบาและกลับมาปกครองฝรั่งเศสอีกครั้ง แต่ปกครองได้เพียง 100 วันก็ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติอีกครั้งและถูกส่งตัวไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา และสวรรคตที่เกาะนี้เมื่อปี ค.ศ. 1821 หลังจากนั้นราชสกุลโบนาปาร์ตก็เงียบหายไปจนถึงปี ค.ศ. 1848 หลุยส์ นโปเลียน โบนาปาร์ต พระราชนัดดาในพระเจ้านโปเลียนที่ 1 ก็ได้เป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรก ต่อมาหลังจากดำรงตำแหน่ง ครบ 4 ปี ก็ประกาศสถาปนาตนเองขึ้นเป็น จักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ในปี ค.ศ. 1852 และครองราชย์อยู่ 18 ปีก็สละราชสมบัติในปี ค.ศ. 1870 เป็นอันสิ้นสุดราชวงศ์โบนาปาร์ตและสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ที่ปกครองฝรั่งเศสมายาวนาน

พระนามแบ่งตามอิสริยยศ

[แก้]

จักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส

[แก้]

กษัตริย์แห่งฮอลแลนด์

[แก้]

กษัตริย์แห่งเนเปิลส์

[แก้]

กษัตริย์แห่งเวสต์ฟาเลีย

[แก้]

กษัตริย์แห่งสเปน

[แก้]

แกรนด์ดัชเชสทัสคานี

[แก้]

รายชื่อของผู้นำราชวงศ์โบนาปาร์ต (ตั้งแต่ 1852)

[แก้]

พิพาทตั้งแต่ปี 1997:

ผังราชวงศ์โบนาปาร์ต

[แก้]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คาร์โล โบนาปาร์ต
(1746–1785)
 
เลติเซีย ราโมลิโน
(1750–1836)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3
 
 
1
 
 
 
 
 
2
 
 
 
 
 
 
 
 
5
 
4
 
6
 
7
 
 
 
 
 
8
 
ลูว์เซียง โบนาปาร์ต
(1775–1840)
m.(2) Alexandrine de Bleschamp
 
 
โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต
(1768–1844)
m. Julie Clary
 
มารี หลุยส์ แห่งออสเตรีย
(1791–1847)
 
นโปเลียนที่ 1
(1769–1821)
 
โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน
(1763–1814)
 
อาแล็กซ็องดร์ เดอ โบอาร์แน
(1760–1794)
 
 
 
 
 
เอลิซา โบนาปาร์ต
(1777–1820)
m. Félix Baciocchi
 
พอลลีน โบนาปาร์ต
(1780–1825)
m.(1) Charles Leclerc
m.(2) Camillo Borghese
 
แคโรไลน์ โบนาปาร์ต
(1782–1839)
m. ฌออากีม มูว์รา
 
Betsy Patterson
(1785–1879)
 
เจโรม โบนาปาร์ต
(1784–1860)
 
Catharina of Württemberg
(1783–1835)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
นโปเลียนที่ 2
(1811–1832)
 
 
เออแฌน เดอ โบอาร์แน
(1781–1824)
m. ออกัสตา แห่งบาวาเรีย
 
ออร์ต็องส์ เดอ โบอาร์แน
(1783–1837)
 
หลุยส์ โบนาปาร์ต
(1778–1846)
 
บุตร 4 คน
 
 
 
 
 
มูรัตชิลล์
(1801–1847)
m. Catherine Willis Gray
 
 
เจโรม นโปเลียน โบนาปาร์ต
(1805–1870)
m. Susan May Williams
 
เจโรม โบนาปาร์ต ชาร์ล โบนาปาร์ต
(1814–1847)
 
แมธิลด์ โบนาปาร์ต
(1820–1904)
m. อนาตอลี เดมีดอฟ เจ้าชายแห่งซันโดนาโต
 
เจ้าชายนโปเลียน โบนาปาร์ต
(1822–1891)
m. Marie Clothilde of Savoy
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ชาร์ล ลูว์เซียง โบนาปาร์ต
(1803–1857)
 
Zénaïde Bonaparte
(1801–1854)
 
ฌูลี โฌเซฟีน โบนาปาร์ต
(b.&d. 1796)
 
ชาร์ลอตต์ โบนาปาร์ต
(1802–1839)
 
นโปเลียน หลุยส์ โบนาปาร์ต
(1804–1831)
 
นโปเลียน ชาร์ล โบนาปาร์ต
(1802–1807)
 
นโปเลียนที่ 3
(1808–1873)
m.เออแฌนี เดอ มอนติโจ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เจโรม นโปเลียน โบนาปาร์ตที่ 2
(1830–1893)
m. Caroline Edgar
 
ชาร์ล โบนาปาร์ต
(1851–1921)
m. Ellen Channing Day
 
นโปเลียนที่ 5 วิคเตอร์
(1862–1926)
m. เคลเมนทีนแห่งเบลเยียม
 
นโปเลียน หลุยส์ โฌแซ็ฟ เจโรม โบนาปาร์ต
(1864–1932)
 
มาเรีย เลติเซีย โบนาปาร์ต
(1866–1926)
m. Amadeo of Savoy
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
โฌแซ็ฟ ลูว์เซียง โบนาปาร์ต
(1824–1865)
 
พระคาร์ดินัล ลูว์เซียง โบนาปาร์ต
(1828–1895)
 
นโปเลียน ชาร์ล โบนาปาร์ต
(1839–1899)
 
และอีก 10 คน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
นโปเลียนที่ 4 เออแฌน
(1856–1879)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
Marie Clothilde Bonaparte
(1912–1996)
 
นโปเลียนที่ 6 หลุยส์
(1914–1997)
m. Alix de Foresta
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
Zénaïde Bonaparte
(1860–1862)
 
แมรี่ โบนาปาร์ต
(1870–1947)
 
ยูจิเนีย โบนาปาร์ต
(1872–1949)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
นโปเลียนที่ 7 ชาร์ล
(b. 1950)
 
แคเธอรีน อลิซาเบธ โบนาปาร์ต
(b. 1950)
 
Laure Clémentine Bonaparte
(b. 1952)
 
เจโรม ซาเวียร์ โบนาปาร์ต
(b. 1957)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
แคโรไลน์ โบนาปาร์ต
(b. 1980)
 
ฌ็อง คริสต็อฟ นโปเลียน
(b. 1986)
 
โซฟี แคโรไลน์ โบนาปาร์ต
(b. 1992)

ตราอาร์ม

[แก้]

ดนตรี

[แก้]

ฮิมนุส

[แก้]
ฮิมนุส
โน๊ตเพลง
ชื่ออื่นIsten, áldd meg a Magyart
English: God, bless the Hungarians
A magyar nép zivataros századaiból
อังกฤษ: From the stormy centuries of the Hungarian people
เนื้อร้องแฟเร็กค์ โกลซเลย์, ค.ศ. 1845
ทำนองแฟเร็กค์ แอเครล, ค.ศ. 1845
รับไปใช้ค.ศ. 1845 (โดยพฤตินัย)
ค.ศ. 1949 (โดยสาธารณรัฐประชาชนฮังการี)
ค.ศ. 1989 (โดยนิตินัย)
ตัวอย่างเสียง
"ฮิมนุส" (บรรเลง)
โน๊ตเพลงต้นฉบับของฮิมนุส

ฮิมนุส (ฮังการี: Himnusz; Hymn; ออกเสียง: [ˈhimnus]) เป็นเพลงชาติของประเทศฮังการี[4] เนื้อเพลงถูกเขียนโดยนักกวี แฟเร็กค์ โกลซเลย์ ใน ค.ศ. 1823 และประพันธ์โดยนักประพันธ์เพลงโรแมนติก แฟเร็กค์ แอเครล ใน ค.ศ. 1844 แต่แรกเริ่มเป็นบทกวีที่มีชื่อว่า "A magyar nép zivataros századaiból" (จากศตวรรษแห่งความสับสนวุ่นวายของฮังการี) ซึ่งยังคงเป็นที่ถกเถียงอยู่ว่า ชื่อรองนี้ถูกเพิ่มอย่างชัดเจนเพื่อให้บทกวีนี้ผ่านการตรวจสอบโดยทางการของฮาพส์บวร์คหรือไม่[ต้องการอ้างอิง] เป็นเพลงชาติโดยพฤตินัย ของราชอาณาจักรฮังการี ใน ค.ศ. 1844 และได้รับการลงมติยอมรับอย่างเป็นทางการว่า เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐฮังการีที่สาม ใน ค.ศ. 1989

เนื้อเพลงของ "ฮิมนุส" เป็นการภาวนา ที่มีการขึ้นต้นด้วยคำว่า Isten, áldd meg a magyart (ออกเสียง) (พระเจ้าคุ้มครองชาวฮังการี)

ประวัติ

[แก้]

ถึงแม้ว่าโกลซเลย์ จะแต่งบทกวีเสร็จในวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1823 แต่กลับได้รับการเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1829 ในบทละครเรื่อง"ออโรรา" ของ เกโรลี กิสฟัลลูนดี โดยไม่มีคำบรรยาย ถึงแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารต้นฉบับก็ตาม ต่อมาจึงปรากฏในการสะสมผลงานของโกลซเลย์ ใน ค.ศ. 1832 และในครั้งนี้ได้มาพร้อมกับคำบรรยาย[5] การแข่งขันสำหรับนักประพันธ์เพลง เพื่อสร้างบทกวีที่เหมาะสม สำหรับการขับร้องโดยสาธารณชน ได้จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1844 และผู้เข้าแข่งขันอย่างแอเครล ได้เป็นผู้ชนะ ฉบับของเขาได้รับการแสดงเป็นครั้งแรก ในโรงละครแห่งชาติในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1844 ต่อหน้าผู้ชมเป็นจำนวนมาก และในวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1844 ในการเดินทางเป็นครั้งแรก ของเรือกลไฟสเกเชยี (Széchenyi) โดยในช่วงปลายคริสตทศวรรษที่ 1850 จึงจะเป็นเรื่องปกติที่จะขับร้อง "ฮิมนุส" ในวาระพิเศษ ร่วมกับ สโกโซท ของโกวโกรสมาร์เทีย หรืออาจจะเป็นการร้องเพลงแบบเดี่ยว[5]

ในช่วงต้นคริสตทศวรรษที่ 1900 สมาชิกของรัฐสภาฮังการีหลายคน ได้เสนอให้สถานภาพของฮิมนุส เป็นเพลงชาติของฮังการีภายในทางการของ ออสเตรีย-ฮังการี แต่ความพยายามของพวกเขา ไม่เคยได้รับการสนับสนุนเพียงพอ ที่จะให้ผ่านกฎหมายดังกล่าว[6] ต่อมาในคริสต์ทษวรรษที่ 1950 ราโกชีได้วางแผนที่จะแทนที่เพลงชาติด้วยเพลงใหม่ที่เหมาะสมต่ออุดมการณ์คอมมิวนิสต์ แต่นักประพันธ์เนื้อร้องและนักประพันธ์เพลงที่เขาคิดไว้สำหรับงานนี้อย่าง อิลเยชต์และโกดราย ได้ปฏิเสธทั้งคู่[7] จนกระทั่ง ค.ศ. 1989 ฮิมนุสในฉบับที่ถูกปรับปรุงจากฉบับของแอเครล ก็ถูกรับยอมรับอย่างเป็นทางการว่า เป็นเพลงชาติของฮังการี by being mentioned as such in the Constitution of Hungary.[5][6]

การใช้อย่างเป็นทางการ

[แก้]

The public radio station Kossuth Rádió plays Himnusz at ten minutes past midnight each day at the close of transmissions in the AM band, as do the state TV channels at the end of the day's broadcasts. Himnusz is also traditionally played on Hungarian television at the stroke of midnight on New Year's Eve.

Alternate anthems

[แก้]

"Szózat" (Appeal), which begings with the words "Hazádnak rendületlenül légy híve, óh magyar" (To your homeland be faithful steadfastly, O Hungarian) enjoys a social status nearly equal to that of "Himnusz", even though only "Himnusz" is mentioned in the Constitution of Hungary. Traditionally, "Himnusz" is sung at the beginning of ceremonies, and "Szózat" at the end. Recognition is also given to the "Rákóczi March", a short wordless piece (composer unknown, but sometimes attributed to János Bihari and Franz Liszt) which is often used on state military occasions; and the poem Nemzeti dal written by Sándor Petőfi.

Recognition is also given to the "Rákóczi March", a short wordless piece which is often used on state military occasions; and the poem "Nemzeti dal" written by Sándor Petőfi.

Another popular song is the "Székely Himnusz", an unofficial ethnic anthem of the Hungarian-speaking Szekler living in Eastern Transylvania and the Székely Land.

เนื้อเพลง

[แก้]

บทแรกจะถูกขับร้องในพิธีการที่เป็นทางการ

บทร้องภาษาฮังการี
(แฟเร็กค์ โกลซเลย์, ค.ศ. 1823)
คำแปลภาษาอังกฤษ
(วิลเลี่ยม โลเอล, ค.ศ. 1881)
การถอดเสียงตามสัทอักษรสากล

Isten, áldd meg a magyart
Jó kedvvel, bőséggel,
Nyújts feléje védő kart,
Ha küzd ellenséggel;
Bal sors akit régen tép,
Hozz rá víg esztendőt,
Megbűnhődte már e nép
A múltat s jövendőt!

Őseinket felhozád
Kárpát szent bércére,
Általad nyert szép hazát
Bendegúznak vére.
S merre zúgnak habjai
Tiszának, Dunának,
Árpád hős magzatjai
Felvirágozának.

Értünk Kunság mezein
Ért kalászt lengettél,
Tokaj szőlővesszein
Nektárt csepegtettél.
Zászlónk gyakran plántálád
Vad török sáncára,
S nyögte Mátyás bús hadát
Bécsnek büszke vára.

Hajh, de bűneink miatt
Gyúlt harag kebledben,
S elsújtád villámidat
Dörgő fellegedben,
Most rabló mongol nyilát
Zúgattad felettünk,
Majd töröktől rabigát
Vállainkra vettünk.

Hányszor zengett ajkain
Ozmán vad népének
Vert hadunk csonthalmain
Győzedelmi ének!
Hányszor támadt tenfiad
Szép hazám, kebledre,
S lettél magzatod miatt
Magzatod hamvvedre!

Bújt az üldözött, s felé
Kard nyúlt barlangjában,
Szerte nézett s nem lelé
Honját a hazában,
Bércre hág és völgybe száll,
Bú s kétség mellette,
Vérözön lábainál,
S lángtenger fölette.

Vár állott, most kőhalom,
Kedv s öröm röpkedtek,
Halálhörgés, siralom
Zajlik már helyettek.
S ah, szabadság nem virúl
A holtnak véréből,
Kínzó rabság könnye hull
Árvánk hő szeméből!

Szánd meg Isten a magyart
Kit vészek hányának,
Nyújts feléje védő kart
Tengerén kínjának.
Bal sors akit régen tép,
Hozz rá víg esztendőt,
Megbűnhődte már e nép
A múltat s jövendőt!

O, my God, the Magyar bless
With Thy plenty and good cheer!
With Thine aid his just cause press,
Where his foes to fight appear.
Fate, who for so long did'st frown,
Bring him happy times and ways;
Atoning sorrow hath weighed down
Sins of past and future days.

By Thy help our fathers gained
Kárpát's proud and sacred height;
Here by Thee a home obtained
Heirs of Bendegúz, the knight.
Where'er Danube's waters flow
And the streams of Tisza swell
Árpád's children, Thou dost know,
Flourished and did prosper well.

For us let the golden grain
Grow upon the fields of Kún,
And let nectar's silver rain
Ripen grapes of Tokay soon.
Thou our flags hast planted o'er
Forts where once wild Turks held sway;
Proud Vienna suffered sore
From King Mátyás' dark array.

But, alas! for our misdeed,
Anger rose within Thy breast,
And Thy lightnings Thou did'st speed
From Thy thundering sky with zest.
Now the Mongol arrow flew
Over our devoted heads;
Or the Turkish yoke we knew,
Which a free-born nation dreads.

O, how often has the voice
Sounded of wild Osman's hordes,
When in songs they did rejoice
O'er our heroes' captured swords!
Yea, how often rose Thy sons,
My fair land, upon Thy sod,
And Thou gavest to these sons,
Tombs within the breast they trod!

Though in caves pursued he lie,
Even then he fears attacks.
Coming forth the land to spy,
Even a home he finds he lacks.
Mountain, vale – go where he would,
Grief and sorrow all the same –
Underneath a sea of blood,
While above a sea of flame.

'Neath the fort, a ruin now,
Joy and pleasure erst were found,
Only groans and sighs, I trow,
In its limits now abound.
But no freedom's flowers return
From the spilt blood of the dead,
And the tears of slavery burn,
Which the eyes of orphans shed.

Pity, God, the Magyar, then,
Long by waves of danger tossed;
Help him by Thy strong hand when
He on grief's sea may be lost.
Fate, who for so long did'st frown,
Bring him happy times and ways;
Atoning sorrow hath weighed down
All the sins of all his days.

[ˈiʃtɛn aːld mɛg ɒ ˈmɒɟɒrt]
[joː ˈkɛdvɛl ˈbøːʃeːgːɛl]
[ɲuːjtʃ ˈfɛleːjɛ ˈveːdøː kɒrt]
[hɒ kyzd ˈɛlːɛnʃeːgːɛl]
[bɒl ʃorʃ ˈɒkit ˈreːgɛn teːp]
[hozː raː viːg ˈɛstɛndøːt]
[ˈmɛgbyːnhøːtːɛ maːr ɛ neːp]
[ɒ ˈmuːltɒt ˈʃjøvɛndøːt]
 
[ˈøːʃɛiŋkɛt ˈfɛlhozaːd]
[ˈkaːrpaːt sɛnd ˈbeːrtseːrɛ]
[ˈaːltɒlɒd ɲɛrt seːp ˈhɒzaːt]
[ˈbɛndɛguːznɒg ˈveːrɛ]
[ˈʃmɛrːɛ ˈzuːgnɒk ˈhɒbjɒi]
[ˈtisaːnɒg ˈdunaːnɒk]
[ˈaːrpaːt høːʃ ˈmɒgsɒcːɒi]
[ˈfɛlviraːgozaːnɒk]
 
[ˈeːrtyŋk ˈkunʃaːg ˈmɛzɛin]
[eːrt ˈkɒlaːst ˈlɛŋgɛtːeːl]
[ˈtokɒj ˈsøːløːvɛsːɛin]
[ˈnɛktaːrt ˈtʃɛpɛktɛtːeːl]
[ˈzaːsloːɲɟ ˈɟɒkrɒm ˈplaːntaːlaːd]
[vɒt ˈtørøk ˈʃaːntsaːrɒ]
[ˈʃɲøktɛ ˈmaːcaːʒ buːʃ ˈhɒdaːt]
[ˈbeːtʃnɛg ˈbyskɛ ˈvaːrɒ]
 
[hɒjh dɛ ˈbynɛiŋk ˈmiɒtː]
[ɟuːlt ˈhɒrɒk ˈkɛblɛdbɛn]
[ˈʃɛlʃuːjtaːd ˈvilːaːmidɒt]
[ˈdørgøː ˈfɛlːɛgɛdbɛn]
[moʃt ˈrɒbloː ˈmoŋgol ˈɲilaːt]
[ˈzuːgɒtːɒt ˈfɛlɛtːyŋk]
[mɒjt ˈtørøktøːl ˈrɒbigaːt]
[ˈvaːlːɒiŋkrɒ ˈvetːyŋk]
 
[ˈhaːɲsor ˈzɛŋgɛtː ˈɒjkɒin]
[ˈozmaːɱ vɒd ˈneːpeːnɛk]
[vɛrt ˈhɒduŋk ˈtʃonthɒlmɒin]
[ˈɟøːzɛdɛlmi ˈeːnɛk]
[ˈhaːɲsor ˈtaːmɒtː ˈtɛɱfiɒd]
[seːp ˈhɒzaːm ˈkɛblɛdrɛ]
[ˈʃlɛtːeːl ˈmɒgzɒtod ˈmiɒtː]
[ˈmɒgzɒtot ˈhɒɱvːɛdrɛ]
 
[buːjt ɒz ˈyldøzøtː ˈʃɛleː]
[kɒrd ɲuːld ˈbɒrlɒŋgjaːbɒn]
[ˈsɛrtɛ ˈɲeːzɛtː ʃnɛm ˈlɛleː]
[ˈhonjaːt ɒ ˈhɒzaːbɒn]
[ˈbeːrtsrɛ haːg eːʒ ˈvøʎɟbɛ saːlː]
[buːʃ ˈkeːtʃeːg ˈmɛlːɛtːɛ]
[ˈveːrøzøn ˈlaːbɒinaːl]
[ˈʃlaːŋktɛŋgɛr ˈfølɛtːɛ]
 
[vaːr ˈaːlːotː moʃt ˈkøːhɒlom]
[kɛtf ˈʃørøm ˈrøpkɛtːɛk]
[ˈhɒlaːlhørgeːʃ ˈʃirɒlom]
[ˈzɒjlik maːr ˈhɛjɛtːɛk]
[ʃɒh ˈsɒbɒtʃaːg nɛɱ ˈviruːl
[ɒ ˈholtnɒg ˈveːreːbøːl
[ˈkiːnzoː ˈrɒpʃaːk ˈkønːe huːl]
[ˈaːrvaːŋk høː ˈsɛmeːbøːl]
 
[saːnd mɛg ˈiʃtɛn ɒ ˈmɒɟɒrt]
[kid ˈveːsɛk ˈhaːɲaːnɒk]
[ɲuːjtʃ ˈfɛleːjɛ ˈveːdøː kɒrt]
[ˈtɛŋgɛreːŋ ˈkiːɲjaːnɒk]
[bɒl ʃorʃ ˈɒkit ˈreːgɛn teːp]
[hozː raː viːg ˈɛstɛndøːt]
[ˈmɛgbyːnhøːtːɛ maːr ɛ neːp]
[ɒ ˈmuːltɒt ˈʃjøvɛndøːt]

แปลเป็นภาษาไทย

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. The Home And Foreign Review, Issue 5, pg 395
  2. Raymond Horricks (1995). Napoleon's Elites. Transaction Publishers. p. 11. ISBN 9781412829281.
  3. Frédéric T. Briffault (1846). The Prisoner of Ham: Authentic Details of the Captivity and Escape of Prince Napoleon Louis. T.C. Newby. p. 344. carlo maria buonaparte nobility 1771.
  4. "The Story Behind the Hungarian National Anthem". Jules S. Vállay. สืบค้นเมื่อ 8 May 2017.
  5. 5.0 5.1 5.2 "A Himnusz története" [History of Himnusz] (ภาษาฮังการี). สืบค้นเมื่อ 2016-05-17.
  6. 6.0 6.1 "A Himnusz ügye az Országgyűlés előtt" [The matter of the anthem before Parliament] (ภาษาฮังการี). สืบค้นเมื่อ 2016-05-17.
  7. "Betiltották a Himnuszt" [Himnusz banned] (ภาษาฮังการี). สืบค้นเมื่อ 2016-05-17.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]