ข้ามไปเนื้อหา

มีลารอดีนอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก มิลา โรดิโน)
มีลารอดีนอ
Mila Rodino
Мила Родино

เพลงชาติของธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย
เนื้อร้องสแวตัน ราดอสลาวอฟ (Tsvetan Radoslavov), ค.ศ. 1885
ทำนองสแวตัน ราดอสลาวอฟ, ค.ศ. 1885
รับไปใช้8 กันยายน ค.ศ. 1964 (โดยสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย)[1]
18 พฤษภาคม ค.ศ. 1971 (รับรองอีกครั้งในรัฐธรรมนูญจีฟกอฟ)[1]
10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 (โดยบัลแกเรีย)[1]
รับไปใช้ใหม่12 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 (รับรองอีกครั้งในรัฐธรรมนูญบัลแกเรีย)[1]
ตัวอย่างเสียง
ฉบับเสียงออร์เคสตราและเสียงร้องทางการในเอไมเนอร์

เพลงชาติบัลแกเรียในปัจจุบันมีชื่อว่า เพลง "มีลารอดีนอ" (บัลแกเรีย: Мила Родино, แปลว่า มาตุภูมิที่รัก) ประพันธ์เนื้อร้องและทำนองโดยสแวตัน ราดอสลาวอฟ (Tsvetan Radoslavov) ขณะที่เขาเดินทางไปร่วมรบในสงครามเซิร์บ-บัลแกเรียใน ค.ศ. 1885 และนำไปใช้ใน ค.ศ. 1964 เนื้อร้องนั้นมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง ครั้งหลังสุดคือเมื่อ ค.ศ. 1990 ต่อมาในวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 มีการย่อเพลงชาติเหลือเพียงบทแรกกับช่วงประสานเสียง[2]

ในช่วง ค.ศ. 1886 ถึง 1947 เพลงชาติบัลแกเรียคือ"ชูมีมาริตซา"; ใน ค.ศ. 1951 ถึง 1964 คือ"บัลการิโย มิลา" ในช่วงสั้น ๆ ระหว่างสองเพลงนี้ คือเพลงมาร์ช "แรปูบลีกอนาชา ซดราแวย์!"

ประวัติ

[แก้]

ประพันธ์

[แก้]

เพลงชาตินี้ประพันธ์ขึ้นโดยสแวตัน ราดอสลาวอฟ นักประพันธ์ที่แต่งขึ้นหลังเข้าร่วมสงครามเซิร์บ-บัลแกเรียใน ค.ศ. 1885 เขาได้แรงบันดาลใจจากบทกวีของตนเองขณะมองเห็นเหล่านักเรียนชาวเซิร์บร้องเพลงปลุกใจของตนเองขณะเดินทางกลับบ้าน[3] เพลงนี้ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในส่วนที่ 1 ของ "Music Textbook" โดย K. Mahan เมื่อ ค.ศ. 1895[4]

นำมาใช้เป็นเพลงชาติ

[แก้]

บทร้อง

[แก้]

สมัยใหม่

[แก้]

เพลงชาติทางการในปัจจุบันมีเพียงบทแรกกับบทประสานเสียง ในช่วงสมัยคอมมิวนิสต์ มีการเพิ่ม 2 บท (II และ III) ไว้อ้างถึงมอสโก (ภายใต้คำสั่งโดยตรงของตอดอร์ จีฟกอฟ) และพรรคคอมมิวนิสต์บัลแกเรีย เช่นเดียวกันกับเหล่านักรบที่ล้มตายในการต่อสู้เพื่อชาติบัลแกเรียมานานนับปี หลังการเปลี่ยนแปลงใน ค.ศ. 1989 เนื้อร้องส่วนนี้ถูกนำออกไป[5][6] และห้ามไม่ให้ร้องในส่วนนี้

อักษรซีริลลิก[5][7] อักษรละติน ถอดเสียงสัทอักษรสากล

I
Горда Стара планина,
до ней Дунава синей,
слънце Тракия огрява,
над Пирина пламеней.

Припев:
(Родино) Мила Родино,
ти си земен рай,
твойта хубост, твойта прелест,
ах, те нямат край.

II
Паднаха борци безчет,
за народа наш любим,
майко, дай ни мъжка сила,
пътя им да продължим.

Припев

III
Дружно, братя българи!
С нас Москва е в мир и в бой!
Партия велика води
нашия победен строй.

Припев

I
Gorda Stara planina,
Do nej Dunava sinej,
Slǎnce Trakija ogrjava,
Nad Pirina plamenej.

Pripev:
(Rodino) Mila Rodino,
Ti si zemen raj,
Tvojta hubost, tvojta prelest,
Ah, te njamat kraj.

II
Padnaha bortsi bezčet,
Za naroda naš ljubim,
Majko, daj ni mǎžka sila,
Patja im da prodǎlžim.

Pripev

III
Družno, bratja bǎlgari!
S nas Moskva e v mir i v boj!
Partija velika vodi
Našija pobeden stroj.

Pripev

1
[ˈɡɔr.d̪ɐ ˈs̪t̪a.rɐ pɫɐ.n̪iˈn̪a |]
[ˈd̪o̝ n̪ɛj ˈd̪u.n̪ɐ.vɐ s̪iˈn̪ɛj |]
[ˈs̪ɫɤ̞n̪.t͡sɛ ˈt̪ra.k̟i.jɐ o̝gˈrʲa̟.vɐ |]
[ˈn̪at̪ pi.ri.n̪ɐ pɫɐ.mɛˈn̪ɛj ǁ]

[ˈpri.pɛf]:
[(ˈrɔ.d̪i.n̪o̝) ˈmi.ɫɐ ˈrɔ.d̪i.n̪o̝ |]
[ˈt̪i s̪i ˈz̪ɛ.mɛn̪ ˈraj |]
[ˈt̪fɔj.t̪ɐ ˈxu.bɔs̪t̪ | ˈt̪fɔj.t̪ɐ ˈprɛ.lɛs̪t̪ |]
[ˈax t̪ɛ ˈn̪ʲa̟.mɐt̪ ˈkraj ǁ]

2
[ˈpad̪.n̪ɐ.xɐ bo̝rˈt͡si bɛs̪ˈt͡ʃɛt̪ |]
[z̪ɐ n̪ɐˈrɔ.d̪ɐ ˈn̪aʃ lʲu̟ˈbim |]
[ˈmaj.ko̝ ˈd̪aj n̪i ˈmɤ̞ʃ.kɐ ˈs̪i.ɫɐ |]
[ˈpɤ̞.t̪ʲɐ im d̪ɐ pro̝.d̪əɫˈʒim ǁ]

[ˈpri.pɛf]

3
[ˈd̪ruʒ.n̪o̝ ˈbra.t̪ʲɐ ˈbɤ̞ɫ.gɐ.ri ǁ]
[s̪‿ˈn̪as̪ mo̝ˈs̪kfa ɛ v‿ˈmir i v‿ˈbɔj ǁ]
[ˈpar.t̪i.jɐ vɛˈli.kɐ ˈvɔ.d̪i]
[ˈn̪a.ʃi.jɐ po̝ˈbɛ.d̪ɛn̪ ˈs̪t̪rɔj ǁ]

[ˈpri.pɛf]

เนื้อร้องเดิม

[แก้]
อักษรซีริลลิก[8] อักษรละติน

I
Горда стара планина,
До ней север се синей
Слънце Витош позлатява
Към Цариград се белей.

Припев:
Мила Родино,
Ти си земен рай,
Твойта хубост, твойта прелест,
Ах, те нямат край.

II
Хайде братя българи,
Към Балкана да вървим.
Там се готви бой юнашки,
За свобода, правдини.

Припев

III
Родино мила, теб привет,
О, майко теб привет!
Теб Българийо чада сме,
Ти си наший дом свещен!

Припев

IV
Ти си наший кът любим,
Кът за щастие отреден!
Мил си край незабравим,
С чудна прелест надарен!

Припев

V
Как щедро, майко, е
Земята твоя осеяна с брилянти!
Сред тях прекрасен свети
Балканът горд напет –

Припев

VI
О, виж го как сияй!
Ний благоговеем пред него и пеем:

Припев

I
Gorda Stara Planina,
Do nej sever se sinej.
Slǎnce Vitoš pozlatjava
Kǎm Carigrad se belej.

Pripev:
Mila Rodino,
Ti si zemen raj,
Tvojta hubost, tvojta prelest –
Ah, te njamat kraj.

II
Hajde bratja bǎlgari,
Kam Balkana da vǎrvim.
Tam se gotvi boj junaški,
Za svoboda, pravdini.

Pripev

III
Rodino mila, teb privet,
O, majko teb privet!
Teb Bǎlgarijo čada sme,
Ti si našij dom svešten!

Pripev

IV
Ti si našij kǎt ljubim,
Kǎt za štastie otreden!
Mil si kraj nezabravim,
S čudna prelest nadaren!

Pripev

V
Kak štedro, majko, e
Zemjata tvoja osejana s briljanti!
Sred tjah prekrasen sveti
Balkanǎt gord napet –

Pripev

VI
O, viž go kak sijaj!
Nij blagogoveem pred nego i peem:

Pripev

คำแปลภาษาไทย

[แก้]
เทือกเขาบุราณอันงามสง่า,
ถัดมาคือสายน้ำดานูบส่องประกาย,
ตะวันฉายเหนือดินแดนทรากียา,
ฉายแสงเจิดจ้าเหนือเทือกเขาพิริน.
ร้องประสานเสียง
มาตุภูมิที่รัก,
แม่คือสวรรค์บนพิภพ,
ความงามและมนต์ขลังของแม่,
อ้า, มากมายมิรู้สิ้น.
นักรบล้มตายเกินนับได้,
เพื่อชาติอันเป็นที่รักของเรา,
แม่เอย, โปรดมอบพลังอันเข้มแข็ง
เพื่อให้เราได้ตามรอยเขาทั้งหลาย.*
ร้องประสานเสียง
มาเถิด พี่น้องบัลแกเรีย
มอสโกอยู่ข้างเราทั้งยามศึกและยามสุข
พรรคอันยิ่งใหญ่นำทาง
สู่สังคมแห่งชัยของพวกเรา.*
ร้องประสานเสียง
*ในสมัยการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ได้มีการเพิ่มบทร้องต่อท้ายบทร้องเดิมอีก 2 บท ซึ่งอ้างอิงถึงพรรคคอมมิวนิสต์บัลแกเรีย (ภายใต้ชี้นำโดยตรงของสหภาพโซเวียต) และเหล่านักรบที่ล้มตายในการต่อสู้เพื่อชาติบัลแกเรียมานานนับปี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี ค.ศ. 1989 บทร้องดังกล่าวจึงถูกยกออกไปจากเพลงชาติ

ฉบับเพิ่มเติม

[แก้]

บทร้องฉบับเพิ่มเติม ประพันธ์โดยโดบรี ฮรีสตรอฟ ตีพิมพ์ในวารสาร Rodina ตีพิมพ์โดย สมาคมวัฒนธรรมมิตรภาพบัลแกเรีย-โมฮัมมีเดียน ในเมืองสโมลยัน[9]

I
Gorda Stara-planina
Nad nej sever sinej,
Do nej Vitoš vǎzvišava
Gordo svojtja ramenja

Припев:
Mila Rodino,
Ti si zemen raj!
Tvojta hubost, tvojta prelest,
Ah tja njamat kraj!

II
Gordo Dunavǎt se ljaj!
Svojta pjasen tiho pjaj!
Vjačen spomen toj za Botev
Ot gǎrdi si šte leljaj!

Припев

III
Čuj Marica, kak šumi
I sǎs radost si mǎlvi,
Če tam, deto kǎrvi Bjaha
— Dnes tam rozata cǎvti!

Припев

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Химнът на България през превратностите на времето". socbg.com. สืบค้นเมื่อ July 17, 2018.
  2. National Assembly of the Republic of Bulgaria Official website
  3. "1963 г. Радой Ралин лобира химн да е "Мила Родино"". www.24chasa.bg. March 3, 2016. สืบค้นเมื่อ July 18, 2018.
  4. "ТАЙНАТА ИСТОРИЯ НА ХИМНА НА НАРОДНА РЕПУБЛИКА БЪЛГАРИЯ". www.tretavazrast.com. March 11, 2017. สืบค้นเมื่อ July 18, 2018.[ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 "1964 г.: Историята на българския национален химн". Bulgarian National Radio (ภาษาบัลแกเรีย). สืบค้นเมื่อ 2022-04-17.
  6. "Народно събрание на Република България". National Assembly of the Republic of Bulgaria. 2008-03-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-25. สืบค้นเมื่อ 2022-04-17.
  7. "Химн на Република България". Sabranie.com. สืบค้นเมื่อ 2022-04-17.
  8. Ivan Voynikov, 2005, History of the Bulgarian state symbols. Part three: The Bulgarian anthem, in Bulgarian: https://web.archive.org/web/20160304023550/http://protobulgarians.com/Kniga%20za%20gerbovete/III.Chast%20treta-himn.htm, Retrieved 2016-03-04.
  9. "Сборникъ РОДИНА. Издание на българо-мохамеданската културно-просвѣтна и благотворителна дружба "Родина" въ гр. Смоленъ". macedonia.kroraina.com. สืบค้นเมื่อ August 25, 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]