สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
สาธารณรัฐประชาชนฮังการี Magyar Népköztársaság (ฮังการี) | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1949–ค.ศ. 1989 | |||||||||
![]() ตำแหน่งของสาธารณรัฐประชาชนฮังการี | |||||||||
สถานะ | รัฐบริวารของสหภาพโซเวียต | ||||||||
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | บูดาเปสต์ 47°26′N 19°15′E / 47.433°N 19.250°E | ||||||||
ภาษาทั่วไป | ฮังการี | ||||||||
ศาสนา |
| ||||||||
เดมะนิม | ชาวฮังการี | ||||||||
การปกครอง | รัฐเดี่ยว ลัทธิมากซ์-เลนิน รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยมภายใต้เผด็จการเบ็ดเสร็จ (1949–1953)[1] | ||||||||
เลขาธิการ | |||||||||
• ค.ศ. 1949-1956 (คนแรก) | มาทยาช ราโคชี | ||||||||
• ค.ศ. 1989 (คนสุดท้าย) | Rezső Nyers | ||||||||
ประมุขแห่งรัฐ | |||||||||
• ค.ศ. 1949–1950 (คนแรก) | Árpád Szakasits | ||||||||
• ค.ศ. 1988–1989 (คนสุดท้าย) | Brunó Ferenc Straub | ||||||||
หัวหน้ารัฐบาล | |||||||||
• ค.ศ. 1946-1949 (คนแรก) | István Dobi | ||||||||
• ค.ศ. 1988-1989 (คนสุดท้าย) | Miklós Németh | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภาแห่งชาติฮังการี | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น | ||||||||
• สถาปนา | 20 สิงหาคม ค.ศ. 1949 | ||||||||
• การปฏิวัติฮังการี | 23 ตุลาคม ค.ศ. 1956 | ||||||||
• กลไกเศรษฐกิจใหม่ | 1 มกราคม ค.ศ. 1968 | ||||||||
• การล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในฮังการี | 23 ตุลาคม ค.ศ. 1989 | ||||||||
พื้นที่ | |||||||||
• รวม | 93,011[2] ตารางกิโลเมตร (35,912 ตารางไมล์) | ||||||||
ประชากร | |||||||||
• ค.ศ. 1949[3] | 9,204,799 | ||||||||
• ค.ศ. 1970[3] | 10,322,099 | ||||||||
• ค.ศ. 1989[3] | 10,375,323 | ||||||||
เอชดีไอ (1989) | 0.915[4] สูงมาก | ||||||||
สกุลเงิน | โฟรินต์ (HUF) | ||||||||
เขตเวลา | UTC+1 (CET) | ||||||||
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+2 (CEST) | ||||||||
รูปแบบวันที่ | ปปปป/ดด/วว | ||||||||
ขับรถด้าน | ขวา | ||||||||
รหัสโทรศัพท์ | +36 | ||||||||
|
กลุ่มตะวันออก |
---|
![]() |
สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (ฮังการี: Magyar Népköztársaság) เป็นรัฐสังคมนิยมแบบพรรคเดียว ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1949[5] จนถึงวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 1989[6] ประเทศนี้ถูกปกครองโดยพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี ซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียต[7] ตามการประชุมที่มอสโกใน ค.ศ. 1944 วินสตัน เชอร์ชิลและโจเซฟ สตาลิน ได้เห็นพ้องต้องกันว่าในภายหลังสงคราม ฮังการีจะถูกรวมอยู่ในเขตอิทธิพลสหภาพโซเวียต[8][9] สาธารณรัฐประชาชนฮังการียังดำรงอยู่จนถึง ค.ศ. 1989 เมื่อกองกำลังฝ่ายต่อต้านได้นำพาจุดสิ้นสุดของลัทธิคอมมิวนิสต์ในประเทศฮังการี
สาธารณรัฐประชาชนฮังการีถูกปกครองโดยพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี ภายได้การหนุนหลังของสหภาพโซเวียต[7] รัฐยังคงดำรงอยู่จนถึง ค.ศ. 1989 เมื่อกองกำลังที่ไม่เห็นด้วยรวมตัวกันและบังคับให้รัฐบาล ล้มเลิกระบอบคอมมิวนิสต์ รัฐมีความคิดว่ารัฐนี้เป็นทายาทของสาธารณรัฐโซเวียตฮังการีซึ่งก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1919 และเป็นรัฐคอมมิวนิสต์รัฐแรกหลังจากสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย และถูกกำหนดให้เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนโดยสหภาพโซเวียตในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1940 ภูมิศาสตร์ของสาธารณรัฐประชาชนฮังการี มีพรมแดนติดกับ สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนียและสหภาพโซเวียต (ส่วนด้าน สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน) ทางด้านตะวันออก, ติดกับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียทางด้านตะวันตกเฉียงใต้, ติดกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวักทางด้านเหนือ และติดกับประเทศออสเตรียทางด้านตะวันตก
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Gati, Charles (September 2006). Failed Illusions: Moscow, Washington, Budapest and the 1956 Hungarian Revolt. Stanford University Press. p. 47–49. ISBN 0-8047-5606-6.
- ↑ Élesztős, László, บ.ก. (2004). "Magyarország határai" [Borders of Hungary]. Révai új lexikona (ภาษาฮังการี). 13. Szekszárd: Babits Kiadó. p. 895. ISBN 963-9556-13-0.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Az 1990. évi népszámlálás előzetes adatai". Statisztikai Szemle. 68 (10): 750. October 1990.
- ↑ Human Development Report 1990, p. 111
- ↑ "1949. évi XX. törvény. A Magyar Népköztársaság Alkotmánya" [Act XX of 1949. The Constitution of the Hungarian People's Republic]. Magyar Közlöny (ภาษาฮังการี). Budapest: Állami Lapkiadó Nemzeti Vállalat. 4 (174): 1361. 20 August 1949.
- ↑ "1989. évi XXXI. törvény az Alkotmány módosításáról" [Act XXXI of 1989 on the Amendment of the Constitution]. Magyar Közlöny (ภาษาฮังการี). Budapest: Pallas Lap- és Könyvkiadó Vállalat. 44 (74): 1219. 23 October 1989.
- ↑ 7.0 7.1 Rao, B. V. (2006), History of Modern Europe A.D. 1789–2002, Sterling Publishers Pvt. Ltd.
- ↑ Melvyn Leffler, Cambridge History of the Cold War: Volume 1 (Cambridge University Press, 2012), p. 175
- ↑ The Untold History of the United States, Stone, Oliver and Kuznick, Peter (Gallery Books, 2012), p. 114, citing The Second World War Triumph and Tragedy, Churchill, Winston, 1953, pp. 227–228, and Modern Times: The World from the Twenties to the Nineties, Johnson, Paul (New York: Perennial, 2001), p. 434
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: สาธารณรัฐประชาชนฮังการี |
- สิ้นสุดใน ค.ศ. พ.ศ. 2532
- ค่ายตะวันออก
- คอมมิวนิสต์ในฮังการี
- ประวัติศาสตร์ฮังการี
- รัฐบริวารโซเวียต
- ฮังการีในศตวรรษที่ 20
- รัฐสิ้นสภาพในคาบสมุทรบอลข่าน
- รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
- รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งใน ค.ศ. พ.ศ. 2492
- รัฐพรรคการเมืองเดียว
- อดีตรัฐสมาชิกสหประชาชาติ
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศฮังการี
- รัฐบริวารของสหภาพโซเวียต
- อดีตสาธารณรัฐสังคมนิยม
- สาธารณรัฐประชาชน
- บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์
- บทความเกี่ยวกับ ประเทศฮังการี ที่ยังไม่สมบูรณ์