ประเทศเซอร์เบีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้เกี่ยวกับประเทศในทวีปยุโรป สำหรับความหมายอื่น ดูที่ เซอร์เบีย (แก้ความกำกวม)

พิกัดภูมิศาสตร์: 44°N 21°E / 44°N 21°E / 44; 21

สาธารณรัฐเซอร์เบีย

Република Србија (เซอร์เบีย)
Serbia (orthographic projection).svg
Europe-Serbia.svg
ที่ตั้งของประเทศเซอร์เบีย (เขียว) และดินแดนพิพาทคอซอวอ[a] (เขียวอ่อน) ในทวีปยุโรป (เทาเข้ม)
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
เบลเกรด
44°48′N 20°28′E / 44.800°N 20.467°E / 44.800; 20.467
ภาษาราชการเซอร์เบีย[b]
กลุ่มชาติพันธุ์
(2011)
ศาสนา
(2011)
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา
สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
อาเล็กซานดาร์ วูชิช
อานา เบอร์นาบิช
Ivica Dačić
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
ประวัติก่อตั้ง
780
1217
1346
1459–1556
1804
1878
1882
1918
1992
• ฟื้นฟูเอกราช
2006
พื้นที่
• รวมคอซอวอ[a]
88,361 ตารางกิโลเมตร (34,116 ตารางไมล์) (อันดับที่ 111)
• ไม่รวมคอซอวอ[a]
77,474 ตารางกิโลเมตร (29,913 ตารางไมล์)[1]
ประชากร
• 2021 ประมาณ
ลดลงเป็นกลาง 6,871,547 (ไม่รวมคอซอวอ)[2] (อันดับที่ 106)
89 ต่อตารางกิโลเมตร (230.5 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 95)
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2020 (ประมาณ)
• รวม
ลดลง 130.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ไม่รวมคอซอวอ)[a][3] (อันดับที่ 78)
เพิ่มขึ้น 18,840 ดอลลาร์สหรัฐ (ไม่รวมคอซอวอ)[a][3] (อันดับที่ 66)
จีดีพี (ราคาตลาด)2020 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 52 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ไม่รวมคอซอวอ)[a][3] (อันดับที่ 84)
เพิ่มขึ้น 7,497 ดอลลาร์สหรัฐ (ไม่รวมคอซอวอ)[a][3] (อันดับที่ 75)
จีนี (2019)positive decrease 33.3[4]
ปานกลาง
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.806[5]
สูงมาก · อันดับที่ 64
สกุลเงินดีนาร์เซอร์เบีย (RSD)
เขตเวลาUTC+1 (เวลายุโรปกลาง)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
ขับรถด้านขวา
รหัสโทรศัพท์+381
โดเมนบนสุด
  1. คอซอวอเป็นเรื่องข้อพิพาทดินแดนระหว่างคอซอวอและเซอร์เบีย คอซอวอประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียวในปี 2008 ในขณะที่เซอร์เบียยังคงอ้างว่าเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอธิปไตยของตนเอง ปัจจุบันคอซอวอได้รับการยอมรับว่าเป็นเอกราชโดย 98 จาก 193 ประเทศสมาชิกสหประชาชาติ

เซอร์เบีย (อังกฤษ: Serbia; เซอร์เบีย: Србија, Srbija, ออกเสียง: [sř̩bija] เกี่ยวกับเสียงนี้ ออกเสียง ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (อังกฤษ: Republic of Serbia; เซอร์เบีย: Република Србија, Republika Srbija, ออกเสียง: [repǔblika sř̩bija] เกี่ยวกับเสียงนี้ ออกเสียง ) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก

ภูมิศาสตร์[แก้]

แบ่งออกเป็นเขตที่ราบสูง ที่ราบพันโนเนีย แม่น้ำและทะเลสาบ

ประวัติศาสตร์[แก้]

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์เซอร์เบีย

การล่มสลาย และ วิกฤติทางการเมือง[แก้]

ยูโกสลาเวียเดิมประกอบด้วย 6 สาธารณรัฐสังคมนิยม คือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย โครเอเชีย เซอร์เบีย บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และมาซิโดเนีย รวมทั้งคอซอวอและวอยวอดีนา ซึ่งเป็นจังหวัดปกครองตนเอง

การเมือง[แก้]

ส่วนการปกครอง[แก้]

แผนที่เขตย่อยทั้งหมดของเซอร์เบีย (รวมคอซอวอด้วย)

เซอร์เบียนั้นแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่คือ เซอร์เบียกลาง (อังกฤษ: Central Serbia / Serbia proper) และ จังหวัดปกครองตัวเองวอยโวดีนา (อังกฤษ: Autonomous Province of Vojvodina; เซอร์เบีย: Аутономна Покрајина Војводина / Autonomna Pokrajina Vojvodina) ซึ่งมีการแบ่งการปกครองย่อยลงมาเป็นเขตต่างๆจำนวน 25 เขต (30 หากรวมคอซอวอด้วย) แบ่งออกเป็น 1 เขตปกครองพิเศษ 7 เขตปกครองในวอยโวดีนา 8 เขตปกครองในชูมาดียาและเซอร์เบียตะวันตก 9 เขตปกครองในเซอร์เบียภาคตะวันออกและใต้ และ 5 เขตปกครองอยู่ในคอซอวอ

เขตปกครองพิเศษ[แก้]

แผนที่ ชื่อเขต ชื่อภาษาเซอร์เบีย เมืองหลัก ประชากรเขต(ค.ศ. 2011)
Grad Beograd.PNG
เขตปกครองพิเศษกรุงเบลเกรด Град Београд / Grad Beograd กรุงเบลเกรด 1,659,440

เขตปกครองในชูมาดียาและเซอร์เบียตะวันตก[แก้]

แผนที่ ชื่อเขต ชื่อภาษาเซอร์เบีย เมืองหลัก ประชากรเขต(ค.ศ. 2011)
Kolubarski okrug.PNG
โกลูบารา Колубарски округ / Kolubarski okrug วัลเยโว 174,513
Šumadijski okrug.PNG
ชูมาดียา Шумадијски округ / Šumadijski okrug ครากูเยวัตส์ 293,308
Zlatiborski okrug.PNG
ซลาติบอร์ Златиборски округ / Zlatiborski okrug อูซีตเซ 286,549
Pomoravski okrug.PNG
โปโมราฟลีเย Поморавски округ / Pomoravski okrug ยาโกดินา 214,536
Mačvanski okrug.PNG
มาชวา Мачвански округ / Mačvanski okrug ชาบัทส์ 298,931
Moravički okrug.PNG
โมราวิทซา Моравички округ / Moravički okrug ชาชัก 212,603
Raški okrug.PNG
ราชกา Рашки округ / Raški okrug คราเยโว 309,258
Rasinski okrug.PNG
ราซินา Расински округ / Rasinski okrug ครูเชวัทส์ 241,999

เขตปกครองในเซอร์เบียภาคตะวันออกและใต้[แก้]

แผนที่ ชื่อเขต ชื่อภาษาเซอร์เบีย เมืองหลัก ประชากรเขต(ค.ศ. 2011)
Zaječarski okrug.PNG
ซาเยชาร์ Зајечарски округ / Zaječarski okrug ซาเยชาร์ 119,967
Toplički okrug.PNG
โทปลิทซา Топлички округ / Toplički okrug โปรคุปลีเย 91,754
Nišavski okrug.PNG
นิชาวา Нишавски округ / Nišavski okrug นีช 372,404
Braničevski okrug.PNG
บรานิเชโว Браничевски округ / Braničevski okrug โปซาเรวัทส์ 180,480
Borski okrug.PNG
บอร์ Борски округ / Borski okrug บอร์ 123,848
Pčinjski okrug.PNG
ปชินยา Пчињски округ / Pčinjski okrug วรานเย 159,081
Pirotski okrug.PNG
ปิรอท Пиротски Oкруг / Pirotski Okrug ปิรอท 92,277
Podunavski okrug.PNG
โปดูนาฟลีเย Подунавски округ / Podunavski okrug ซเมเดเรโว 199,395
Jablanički okrug.PNG
ยาบลานิทซา Јабланички округ / Jablanički okrug เลสโกวัทส์ 215,463

เขตปกครองในวอยโวดีนา[แก้]

แผนที่ ชื่อเขต ชื่อภาษาเซอร์เบีย เมืองหลัก ประชากรเขต(ค.ศ. 2011)
Сербия Сремский округ.png
ซเรม Сремски округ / Sremski okrug ซเรมสกา มิตรอวิทซา 311,053
Сербия Южная Бачка округ.png
บาชกาใต้ Јужнобачки округ / Južnobački okrug นอวีซาด 615,371
Сербия Западная Бачка округ.png
บาชกาตะวันตก Западнобачки округ / Zapadnobački okrug ซอมบอร์ 188,087
Сербия Северная Бачка округ.png
บาชกาเหนือ Севернобачки округ / Severnobački okrug ซูบอตีตซา 186,906
Сербия Северно-Банатский округ.png
บานัทเหนือ Севернобанатски округ / Severnobanatski okrug กีกันดา 146,690
Сербия Средне-Банатский округ.png
บานัทตอนกลาง Средњебанатски округ / Srednjebanatski okrug ซเรนยานิน 186,851
Сербия Южно-Банатский округ.png
บานัทใต้ Јужнобанатски округ / Južnobanatski okrug ปันเชโว 291,327

เขตปกครองในคอซอวอ (มีปัญหาขัดแย้งเรื่องการอ้างสิทธิ์)[แก้]

แผนที่ ชื่อเขต ชื่อภาษาเซอร์เบีย เมืองหลัก ประชากรเขต(ค.ศ. 2011)
Сербия Косовский округ.png
คอซอวอ Косовски округ / Kosovski okrug พริสตีนา 672,292
Сербия Косовскопоморавский округ.png
คอซอวอ-โปโมราฟลีเย Косовско-Поморавски округ / Kosovsko-Pomoravski okrug กนีลาเน 217,726
Сербия Косовскомитровицкий округ.png
คอซอฟสกา มิตรอวิทซา Косовскомитровички округ / Kosovskomitrovički okrug คอซอฟสกา มิตรอวิทซา 275,904
Сербия Печский округ.png
เปช Пећки округ / Pećki okrug เปช 414,187
Сербия Призренский округ.png
พริซเรน Призренски округ / Prizrenski okrug พริซเรน 376,085

ประชากรศาสตร์[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

Ethnic composition (2011)
ชาวเซิร์บ
  
83.3%
ชาวฮังการี
  
3.5%
Roma
  
2.0%
ชาวบอสเนีย
  
2.0%
ชาวโครแอต
  
0.8%
ชาวสโลวัค
  
0.7%
อื่น ๆ
  
5.3%
ไม่ปรากฏสัญชาติ
  
2.2%

ศาสนา[แก้]

ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ นิกายออร์ทอดอกซ์ 86% นิกายโรมันคาทอลิก 8% ไม่นับถือศาสนา / ไม่ทราบ 6%

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมเซอร์เบีย

สถาปัตยกรรม[แก้]

ตั้งอยู่ที่เบลารุสตอนกลาง ราชวงศ์ราดซีวิลล์เป็นผู้สร้างและปกครองดินแดนนี้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยได้ให้กำเนิดบุคคลที่สำคัญที่สุดบางคนในประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมยุโรป ทำให้เมืองเนซวิซมีอิทธิพลอันยิ่งใหญ่ด้านวิทยาศาสตร์, ศิลปะ, งานช่างฝีมือ และสถาปัตย์กรรม แหล่งมรดกโลกนี้ประกอบไปด้วยปราสาทที่ประทับ โบสถ์สุสสานคอร์ปัส คริสตี รวมทั้งองค์ประกอบแวดล้อมตัวปราสาทเป็นอาการที่เชื่อมต่อกัน 10 หลัง เป็นองค์รวมของสถาปัตย์กรรมรอบพื้นที่โล่งรูปหกเหลี่ยม พระราชวังและโบสถ์ได้กลายเป็นต้นแบบและพัฒนาการของสถาปัตย์กรรมทั่วทั้งยุโรปกลาง และรัสเซีย

ดนตรี และ นาฎศิลป์[แก้]

มีการเต้นระบำพื้นบ้านที่เรียกว่า โคโล (Kolo)

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 คอซอวอเป็นดินแดนข้อพิพาทระหว่างสาธารณรัฐคอซอวอกับสาธารณรัฐเซอร์เบีย สาธารณรัฐคอซอวอประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 แต่เซอร์เบียยังคงอ้างว่าคอซอวอเป็นดินแดนอธิปไตยของตน ใน พ.ศ. 2556 ทั้งสองรัฐบาลเริ่มกระชับความสัมพันธ์ให้เป็นปกติในฐานะส่วนหนึ่งของข้อตกลงบรัสเซลส์ ปัจจุบันคอซอวอได้รับการยอมรับว่าเป็นรัฐเอกราชจากประเทศสมาชิกสหประชาชาติ 98 ชาติจาก 193 ชาติ
  2. ภาษาชนกลุ่มน้อยที่ได้รับการยอมรับ:
    ฮังการี, บอสเนีย, แอลเบเนีย, โครเอเชีย, สโลวัก, โรมาเนีย, บัลแกเรีย, รูซึน และมาซีโดเนีย

อ้างอิง[แก้]

  1. "The World Factbook: Serbia". Central Intelligence Agency. 20 June 2014. สืบค้นเมื่อ 18 December 2014.
  2. "PBC stats". stat.gov.rs. 2020.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "World Economic Outlook Database, October 2020". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  4. "Gini coefficient of equivalised disposable income – EU-SILC survey". ec.europa.eu. Eurostat. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  5. "2019 Human Development Report" (PDF). United Nations Development Programme. 2019. สืบค้นเมื่อ 9 December 2019.

ข้อมูล[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]